วันเสาร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2565

เหตุที่เขียน เพราะสังขารปรุงแต่งว่า"ถ้าเขามีทิฏฐิชั่ว เขายึดทุกข์เวทนาทางกายว่าเป็นเขาเราจะแก้อย่างไรให้เขา เข้าใจว่าทุกข์เวทนาทางกายไม่ใช่เขาเขาไม่ใช่ทุกข์เวทนาทางกายทุกข์กายก็เป็นอันหนึ่ง ผู้ที่รู้ทุกข์กายก็เป็นอันหนึ่ง"โดยอุปมาแก้ว่า คนชื่อดำบาดเจ็บมีความทุกข์กายคนชื่อขาวไม่บาดเจ็บไม่มีความทุกข์กายถ้าให้คน2คนนี้ จิตวิญญาณเปลี่ยนสลับร่างกันให้จิตนายดำ ไปอาศัยอยู่ในร่างกายนายขาวให้จิตนายขาวไปอาศัยอยู่ในร่างกายนายดำถามว่า นายดำจะมีความทุกข์กายไหมต้องตอบว่า ไม่เพราะความทุกข์นั้นอยู่ที่กายส่วนจิตเป็นแค่ผู้รู้ผู้เห็น ความทุกข์ทางกาย)#แตกออกมาเป็นบทความใหม่ให้เข้าใจง่ายก็ได้ถ้าชายคนหนึ่ง มีความเจ็บปวด อาทิว่า เหยียบหนาม เหยียบตะปู ตะขาบกัด งูกัด แล้วมีเวทนาความเจ็บความปวดเกิดขึ้นเราจะบอกสอนเขาอย่างไรว่าความเจ็บความปวด ไม่ใช่เขา ความเจ็บความปวดมันอยู่ที่กายเราต้องสอนว่า "เห็นความเจ็บความปวดไหม ความเจ็บความปวดเป็นสิ่งที่เราเห็นไม่ใช่อีนเดียวกันกับทานจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร๑ ทหารคนหนึ่ง ถูกงูกัดขาอยู่ในป่างูได้ปักเขี้ยวฉีดน้ำพิษเข้าในร่างกาย จากนั้นงูก็หนีไป แล้วพิษก็แล่นไปตามร่างกายชายคนนั้นบังเกิดความเจ็บความปวดขึ้นเขาก็ร้องว่า "ช่วยด้วย ผมเจ็บ ผมปวด ผมทรมาณเหลือเกินๆ"และในขณะนั้นเอง ในป่านั้นมีพระองค์หนึ่ง พักบำเพ็ญภาวนาทางจิตอยู่ในถ้ำ ได้ยินเสียงทหารนั้นขอความช่วยเหลือ ด้วยโสตะทิพย์จึงได้กำหนดเอาดินเป็นอารมณ์ ดำดินมา มาโผ่ที่ใกล้ๆชายคนนั้น แล้วเดินเข้ามาหาชายคนนั้นเห็นพอเห็นพระก็พูดว่า"พระคุณเจ้าช่วยกระผมด้วย กระผมเจ็บ กระผมปวด กระผมทรามาณ เหลือเกิน" พระองค์นั้นจึงถามว่า "โยมเป็นอะไรหรือ ให้อาตมาช่วยอะไรหรือ"ชายคนถูกงูกัดจึงตอบว่า "กระผมโดนงูกัด ผมเจ็บปวดทรมาณเหลือเกินครับ ท่านมีฤทธิ์จึงดำดินได้ ช่วยใช้ฤทธิ์ทำให้ผมหายเจ็บ หายปวด หายทรมาณหน่อยครับ"พระตอบว่า"อาตมาช่วยให้โยม หายเจ็บ หายปวด หายทรมาณด้วยฤทธิ์ ไม่ได้ดอก แต่ใช้ธรรมะโอสถ ท่านอาจหายเจ็บ หายปวด หายทรมาณ"ชายทหาร: ธรรมะโอสถคืออะไรขอรับพระ: ตอนนี้ท่านเห็นความเจ็บ ความปวด ความทรมาณไหม"ชาย: ครับ ตอนนี้ผมเจ็บ ผมปวด ผมทรมาณมากเลยครับ"พระ:เข้าใจผิดแล้ว ความเจ็บความปวดไม่ใช่ท่านหรอกและท่านไม่ใช่ความเจ็บความปวดหรอกท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไรตอนนี้ท่านถูกงูกัดใช่ไหมส่วนอาตมาไม่ได้ถูกงูกัดถ้าท่านกับอาตมาสลับร่างกันโดยให้วิญญาณของท่าน มาอยู่ในร่างของอาตมาโดยให้วิญญาณของอาตมาไปอยู่ในร่างโยมแล้ว เมื่อท่านมาอยู่ในร่างอาตมาท่านจะเห็นความเจ็บความปวดไหมชาย:ไม่เห็นไม่มี ครับท่าน

เหตุที่เขียน เพราะสังขารปรุงแต่งว่า
"ถ้าเขามีทิฏฐิชั่ว เขายึดทุกข์เวทนาทางกายว่าเป็นเขา
เราจะแก้อย่างไรให้เขา เข้าใจว่าทุกข์เวทนาทางกายไม่ใช่เขา
เขาไม่ใช่ทุกข์เวทนาทางกาย
ทุกข์กายก็เป็นอันหนึ่ง ผู้ที่รู้ทุกข์กายก็เป็นอันหนึ่ง"

โดยอุปมาแก้ว่า คนชื่อดำบาดเจ็บมีความทุกข์กาย
คนชื่อขาวไม่บาดเจ็บไม่มีความทุกข์กาย

ถ้าให้คน2คนนี้ จิตวิญญาณเปลี่ยนสลับร่างกัน
ให้จิตนายดำ ไปอาศัยอยู่ในร่างกายนายขาว
ให้จิตนายขาว
ไปอาศัยอยู่ในร่างกายนายดำ

ถามว่า นายดำจะมีความทุกข์กายไหม

ต้องตอบว่า ไม่

เพราะความทุกข์นั้นอยู่ที่กาย
ส่วนจิตเป็นแค่ผู้รู้ผู้เห็น ความทุกข์ทางกาย)
#แตกออกมาเป็นบทความใหม่ให้เข้าใจง่ายก็ได้

ถ้าชายคนหนึ่ง มีความเจ็บปวด อาทิว่า เหยียบหนาม เหยียบตะปู ตะขาบกัด งูกัด แล้วมีเวทนาความเจ็บความปวดเกิดขึ้น

เราจะบอกสอนเขาอย่างไร
ว่าความเจ็บความปวด ไม่ใช่เขา ความเจ็บความปวดมันอยู่ที่กาย

เราต้องสอนว่า "เห็นความเจ็บความปวดไหม ความเจ็บความปวดเป็นสิ่งที่เราเห็น
ไม่ใช่อีนเดียวกันกับ

ทานจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร
๑ ทหารคนหนึ่ง ถูกงูกัดขาอยู่ในป่า
งูได้ปักเขี้ยวฉีดน้ำพิษเข้าในร่างกาย จากนั้นงูก็หนีไป แล้วพิษก็แล่นไปตามร่างกายชายคนนั้น
บังเกิดความเจ็บความปวดขึ้น
เขาก็ร้องว่า "ช่วยด้วย ผมเจ็บ ผมปวด ผมทรมาณเหลือเกินๆ"

และในขณะนั้นเอง ในป่านั้นมีพระองค์หนึ่ง พักบำเพ็ญภาวนาทางจิตอยู่ในถ้ำ ได้ยินเสียงทหารนั้นขอความช่วยเหลือ ด้วยโสตะทิพย์
จึงได้กำหนดเอาดินเป็นอารมณ์ ดำดินมา มาโผ่ที่ใกล้ๆชายคนนั้น แล้วเดินเข้ามาหา
ชายคนนั้นเห็นพอเห็นพระก็พูดว่า
"พระคุณเจ้าช่วยกระผมด้วย กระผมเจ็บ กระผมปวด กระผมทรามาณ เหลือเกิน"
 
พระองค์นั้นจึงถามว่า "โยมเป็นอะไรหรือ ให้อาตมาช่วยอะไรหรือ"

ชายคนถูกงูกัดจึงตอบว่า "กระผมโดนงูกัด ผมเจ็บปวดทรมาณเหลือเกินครับ ท่านมีฤทธิ์จึงดำดินได้ ช่วยใช้ฤทธิ์ทำให้ผมหายเจ็บ หายปวด หายทรมาณหน่อยครับ"

พระตอบว่า"อาตมาช่วยให้โยม หายเจ็บ หายปวด หายทรมาณด้วยฤทธิ์ ไม่ได้ดอก แต่ใช้ธรรมะโอสถ ท่านอาจหายเจ็บ หายปวด หายทรมาณ"

ชายทหาร: ธรรมะโอสถคืออะไรขอรับ

พระ: ตอนนี้ท่านเห็นความเจ็บ ความปวด ความทรมาณไหม"

ชาย: ครับ ตอนนี้ผมเจ็บ ผมปวด ผมทรมาณมากเลยครับ"

พระ:เข้าใจผิดแล้ว ความเจ็บความปวดไม่ใช่ท่านหรอก
และท่านไม่ใช่ความเจ็บความปวดหรอก

ท่านจะสำคัญความข้อนี้ว่าอย่างไร

ตอนนี้ท่านถูกงูกัดใช่ไหม
ส่วนอาตมาไม่ได้ถูกงูกัด

ถ้าท่านกับอาตมาสลับร่างกัน
โดยให้วิญญาณของท่าน มาอยู่ในร่างของอาตมา
โดยให้วิญญาณของอาตมาไปอยู่ในร่างโยม

แล้ว เมื่อท่านมาอยู่ในร่างอาตมา
ท่านจะเห็นความเจ็บความปวดไหม

ชาย:ไม่เห็นไม่มี ครับท่าน
_______________________________
ฝันว่าอยู่ไม่ได้ เหมือนมีใครมาไล่ฆ่า ต้องหนี ต้องไปหลบซ้อน อยู่นู้น เถียงนา ในความฝันเหมือนกับว่าจะให้ใครรู้ไม่ได้เลยว่าตำแหน่งเราอยู่ไหน ถ้าโดนจับได้แย่เลย
และก็ยังมีคนค่อยช่วยอยู่ คือโยมเจเล่ ช่วยแนะนำที่หลบซ่อนให้
__________"
จิต ดวง นี่ ดวงนี่แหละที่มันอาศัยอยู่ในร่างกายที่เป็นเนื้อเป็นหนังที่เป็นธาตุ4
ดินน้ำไฟลม มาประปนเป็นร่างกายขึ้น

จิตนี้มันไม่เคยตาย
 มันตกนรกมาแล้วผ่านมาไม่รู้กี่ครั้ง
มันเคยเกิดเป็นสัตว์ เป็นหมา เป็นหมู เป็นวัวควาย สัตว์เดรฉานเป็นเปตร มาแล้วนับไม่ได้
มันเคยเป็นเทวดา ผ่านมาแล้วนับไม่ได้
มันเคยเป็นนางฟ้า 
ผ่านมาแล้วนับไม่ได้
มันเคยเกิดเป็นผู้ชาย
มันเคยเกิดเป็นผู้หญิงมาแล้วนับไม่ได้
มันไม่มีเพศ  มันแล้วแต่แรงกรรม

จิตดวงนี้มันเคยเกิดตายมาแล้วนับไม่ได้เลย

ลองหลับตา
แล้วฟังนึกความจริงนี้
>เราตายแล้ว นอนตายอยู่กลางพื้นดิน คิดดูถ้าปล่อยไว้มันจะเป็นยังไง มันจะเป็นยังไงไอ้ร่างกายที่สำคัญว่ามันเป็นของเรานั้น ดูแลมันดีนัก มันเป็นยังไงตอนนี้
เราเน่าละ ธาตุ4เริ่มแยกออกจากกันละ
ธาตุลมดับ มันไม่หายใจแล้ว
เมื่อไม่มีธาตลมแล้วธาตุไฟอยู่ไม่ได้ละ ตัวมีแต่จะเย็นๆ
เมื่อไม่มีธาตุไฟแล้วธาตุน้ำอยู่ไม่ได้เหมือนกันละ ร่างเละอย่างเดียวจนในที่สุดคือไม่มีเนื้อเหลือเลย มันสลายไปหมด
ธาตุดิน ก็คือกระดูกปล่อยไว้สั้ก100ๆล้านๆๆๆๆๆปี และที่สุดมันก็ไม่มีอะไรเหลือเลย
สรุปก็คือไอ้ที่ว่าร่างกายเรานี่มันไม่มีตัวตน

นี่ละคือจิต
______________
ขอให้ข้าพระเจ้าจงเป็นผู้ไม่มีเวร
อย่าได้มีความอาฆาตพยาบาต
และเบียดเบียน
อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจ
ขอให้มีแต่ความสุขตลอดไป
ขอให้มารดาบิดา ครูบาอาจารย์
ญาติสนิทมิตรสหาย พร้อมทั้งเพื่อนประพฤพรมจรร
ทั้งหลายของข้าพระเจ้า
จงอย่าได้มีเวร อย่ามีความอาฆาตพยาบาต
และเบียดเบียน
อย่าได้มีความทุกกายทุกข์ใจ
ขอให้มีแต่ความสุขตลอดไป
ขอให้ผู้บำเพ็ญเพีรยทั้งปวง
ในอารามแห่งนี้  จงอย่าได้มีเวร
อย่าได้มีความอาฆาตพยาบาต
และเบียดเบียน อย่าได้มีความทุกกายทุกข์ใจ
ขอให้มีแต่ความสุขตลอดไป
ขอให้พระภิกษุ
สามเณร 
และอุบาสก
อุบาสิกกา ทั้งปวงในอารามแห่งนี้
จงอย่าได้มีเวร อย่าได้มีความอาฆาตพยาบาต
และเบียดเบียน อย่าได้มีความทุกข์กายทุกใจ
ขอให้มีแต่ความสุขตลอดไป
ขอให้ผู้ถวายปัจจัยสี่
ให้แก่ข้าพระเจ้า
จงอย่าได้มีเวร อย่าได้มีความอาฆาตพยาบาต
และเบียดเบียน อย่ามีความทุกข์กายทุกข์ใจ
ขอให้มีแต่ความสุขตลอดไป ขอให้เล่าเทวดาอารักที่อารักขาข้าพระเจ้า และเล่าเทวดาอารักที่อยู่ในวิหาร
อาวาส อารามแห่งนี้
จงอย่าได้มีเวร อย่าได้มีความอาฆาต พยาบาต และเบียดเบียน อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจ
ขอให้มีแต่ความสุหข์ตลอดไป
ขอให้สัตว์ทั้งหลาย
สิ่งที่มีชีวิตทั้งปวง 
ภูตทั้งปวง 
บุคคลทั้งปวง สัวต์ที่แน่นด้วยอัตภาพทั้งหลาย
ทั้งปวง หญิงทั้งปวง 
ชายทั้งปวง พระอริยะบุคคลทั้งปวง
ปุถุชนทั้งปวง เทวดาทั้งปวง มนุษย์ทั้งปวง สัตว์นรกอสูรกายทั้งหลายทั้งปวง 
จงอย่าได้มีเวร อย่าได้มีความอาฆาตพยาบาต และเบียดเบียน
อย่ามีความทุกข์กายทุกข์ใจ
ขอให้มีแต่ความสุขตลอดไป
ขอให้สัพสัตว์ทั้งหลาย
ผู้มีกรรมเป็นของๆตน จงพ้นจากความทุกข์อยากลำบาก จงอย่าพัดพรากจากสมบัติ คือความสุขความเจริญ
ที่ตนจะพึงได้ ขอสัพสัตว์ผู้มีกรรมเป็นของๆตน
ที่อาศัยอยู่ในทิศบูรพา ในทิศปัจฉิม ในทิศอุดร ในทิศทักษิณ ในทิศอาคะเน
ในทิศพายัพ ในทิศอิสาน ในทิศหอฤดี ในทิศเบื้องล่าง ในทิศเบื้องบน ขอให้สัตว์ทั้งหลาย สิ่งที่มีชีวิตทั้งปวง ภูติทั้งปวง บุคคลทั้งปวง สัตว์ที่แน่นด้วยอัตภาพทั้งหลาย
ทั้งปวง หญิงทั้งปวง ชายทั้งปวง พระอริยะบุคคลทั้งปวง ปุถุชนทั้งปวง เทวดาทั้งปวง มนุษย์ทั้งปวง สัตว์นรกอสูรกายทั้งหลายทั้งปวง
จงอย่าได้มีเวร อย่าได้มีความอาฆาตพยาบาตและเบียดเบียน
อย่ามีความทุกข์กายทุกข์ใจ ขอให้มีความสุขตลอดไป ขอให้สัพสัตว์ทั้งหลายผู้มีกรรมเป็นของๆตน จงพ้นจากความทุกข์ย้ากลำบาก จงอย่าพรัดพรากจากสมบัติคือ ความสุขความเจริญ ที่ตนจะพึงได้ ขอใ้้สัตว์ทั้งหลายผู้มีกรรมเป็นของๆตน เบื้องบนไปจนถึงละวักกะพรม
 เบื้องล่างไปจนถึง อเวจีมหานรก
โดยรอบแห่งจักรวาร ขอให้สัตว์ทั้งหลาย
ที่ท่องเที่ยวไปบนแผ่นดิน
จงอย่าได้มีความอาฆาตพยาบาต
และเบียดเบียน ปราศจากเวร ปราศจากทุข์ 
ปราศจากอันตรายทั้งปวง ขอให้สัพสัตว์ทั้งหลาย ผู้มีกรรมเป็นของๆตน เบื้องบนไปจนถึงละวักกะพรม เบื้องล่างไปจนถึงอเวจีมหานรก โดยรอบแห่งจักรวาร ขอให้สัตว์ทั้งหลาย
ที่ท่องเทียวไปในน้ำ
จงได้มีความอาฆาตพยาบาต และเบียดเบียน ปราศจากเวร ปราศจากทุกข์ ปราศจากอันตรายทั้งปวง ขอให้สัพสัตว์ทั้งหลายผู้มีกรรม
เป็นของๆตน เบื้องบนไปจนถึงละวักกะพรม เบื้องล่างไปจนถึงอเวจีมหานรก โดยรอบแห่งจักวาร 
ขอให้สัตว์ทั้งหลาย
ที่ท่องเที่ยวไปในอากาศ จงอย่าได้มีความอาฆาตพยาบาต และเบียดเบียน
ปราศจากเวร ปราศจากทุกข์ ปราศจากอันตรายทั้งปวง เทอญ
_____________
อย่ายึดติดกับการใช้สายตา
โง่จริงๆ โมหะจริต โทสะจริต วิตกจริต อยากเห็นนี่โง่จริงๆ
___________
คนเฮาทุกคน เกิดมาตาย กันสู่คนเด้อ
โยมแม่ใหญ่ผองกะต้องตาย โยมแม่ใหญ่ตุ๊ กะต้องตาย โยมพ่อใหญ่วิลโยมพ่อส่วยกะตายให้เบิงแล้ว โยมแม่ใหญ่มากะตายให้เบิงแล้ว ต้องตายกันทุกคนที่เห็นเด้อโยมเดือนแต่ละมื้อ แล้วแต่กรรมเก่าแล้วแต่อายุไข
แล้วแต่กรรมกะคือว่า ถ้าชาติก่อนเคยฆ่าสัตว์ใหญ่ หมู งัว ช้าง ชาตินี้ถ้าเขาเห็นเขาสิเอาคืนทันทีสัตว์ใหญ่นี่หนัก เฮ็ดเฮาถิงกับตายก่อนอายุไขได้
ถ้าตายตามอายุไขที่กรรมเก่ากรรมดีแต่งไว้ให้แล้วถ้ารักษาตนบอประมาทสิอยู่ได้ฮ้อดมืออายุไขนั้นละเด้อ
ในมื้อแรกที่โยมแม่ใหญ่มาตายเด้อ วิณญาณเจ้าของออกจากร่างแล้ว งง เอากูตายละติ ความตายเป็นสัั่งสี่บ้อ
ละกะเห็นญาติพี่น้องมากราบมาไหว้มาซอยงานเจ้าของ ดีใจคัก  น้ำตาไหลไห้ย้อยๆ สินั้งยุข้างกระถางธูปเบิงพี่น้องมางาน บาดนี้มื้อแจกข้าวทำบุญให้พุ้นเด้อ วิณณาญโยมแม่ใหญ่มาจังสิลอยขึ้นๆร่างสิเปลียนไปถ้าเฮ็ดบุญหลาย สิมีรัสมีแสงอ้อมร่าง แสงทิพท์ สิเริ่มเปลี่ยนเป็นกายทิพท์(เป็นนางฟ้าแล้ว กลิ่นกายหอม สิเป็นสาวตลอด บ่อหน้าคิอเก่า) สิยุชั้นใด๋แล้วแต่บุญที่เฮ็ดไว้ ตอนเป็นคน
ถ้ายุในศีล5ถึงสิบ่อได้ไปนั้งรับศีลยุวัดกะตาม สิบ่อได้ลงข้างล่าง(นรก)
แต่ถ้าผิดศีลห้า แถมตอนใจสิขาดนึกถึงแต่สิ่งที่เจ้าของเฮ็ดบ่อดี เฮ็ดบาบซะเว่าง่ายๆ จิตช่วงนั้นสิเป็นจิตบาบ ตกนรก
แต่ว่าถ้าช่วงที่เป็นมนุษย์อยู่ พอได้ทำบุญสร้างบุญไว้แน ตอนสิตายนึกถึงบุญไว้ภูมิใจปลื้มใจว่าเจ้าของได้เฮ็ด ใจสิขาดจิตเป็นบุญได้ขึ้นเทิงสวรรค
โยมเดือน ถ้าหากว่าชาติใด๋ภพใด๋โยมเดือนเคยเฮ็ดดผิดต่อหล่วงพี่ทางกายวาจาใจ หลวงพี่อโหสิกรรมให้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปเด้อ และถ้าหากหลวงพี่เคยล่วงเกินทางกายวาจาใจ โยมเดือนอโหสิกรรม ให้หลวงพี่แนเด้อ

ตั้งแต่หลวงพี่บวชเข้ามาแล้วหลวงพี่เปลียนไปแล้วเด้อบอแมนนิสัยคึเก่าละเด้อจิตหลวงพี่เปลี่ยนไปแล้วเด้อ
หลวงพีมองไปเบิงสิ่งที่ผ่านมาๆ ผู้นั้นผู้นี้ที่เคยโกธรเคยเกลียดเคยเคียดให้เคยมั่นใส้ และกะเคยฮักเคยหวง
ตอนนี้หลวงพี่ละทิ้งเรื่องพวกนั้นแล้ว

หลวงพี่สิบอกเด้อแล้วพิจารณาดีๆ ในชาตินี้อาจเป็นชาติเดียวที่โยมเดือนได้เกิดมาเป็นลูกโยมพ่ออ๊อดโยมแม่มอล เพราะว่ากรรมเก่าโยมเดือนนั้นแต่งภพแต่งชาติให้ออกมาเป็นจั้งสี่ในชาตินี้
ชาติก่อนโยมเดือนค้นเบิงบอได้แมนบอละว่าเฮ็ดหยังมาแน่ชาตินี้คึได้มาเป็นแบบนี้ ร่างกายเป็นแบบนี้การใช้ชีวิตเป็นแบบนี้
โยมเดือนอาจสิเคยเฮ็ดชีวติครอบครัวผู้อื่นให้อยู่บ่อเป็นสุข กะเลยได้รับกรรมที่เคยเฮ็ดไว้ หลวงพี่กะคือกันเคยเฮ็ดให้ครอบครัวเขาวุนวายแตกกัน เลยได้เกิดมาแบบนี้
เว่าแล้วกะสิยาวบ่อจบจักเถียเรื่องกรรมเรื่องเวร 
ตอนนี้เด้อสิ่งที่ดีที่หลวงพี่แนะนำโยมเดือนกะคือ 1 เซ่าให้เสียใจ บ่อเกิดบุญในจิตเลย การร้องไห้ โยมแม่ใหญ่มากะห่วง แฮงวิณญาญห่วงลูกห่วงหลานห่วงนาหาวนหน้าที่การงาน ห่วงเมิ๊ด แฮงวนเวียนบ่อได้ไปใส วิญณานบ่อได้ไปไสนั้นทรมาณแท้เด้อ หนาวหิ้วข้าวหิ้วน้ำ ทุกข์บักคักทุกข์กว่าคนที่ทุกข์สุดๆหลายเท่าเลย

ก่อนสินอนให้โยมเดือน ไว้พระก่อน แล้วนั้นสมาธิ เว่าในใจว่าพุธโธ พุธออกโธเข้าเด้อ ห้ามส่งจิตไปม๋องอืน
กะคือว่าห้ามคิดไปที่อื่น
กะคือให้อยู่แต่กับพุธโธ นั้้งอย่างน้อยๆ15นาที แล้วแพ่เมตตา สัพเพสัตตา  ตอนแผ่ถ้าจิตโยมเดือนคิดไปหาผู้ใด๋ผูนั้นสิได้รับ คิดไปหาโยมแม่ใหญ่มา โยมแม่ใหญ่มาสิได้รับ    ช่วงที่โยมเดือนแพ่นิน่ะ สิเกิดแสงพลังออกจากร่างโยมเดือน จิตคิดไปหาไผ๋ผู้นั้นละสิได้รับ
พลังที่ว่านี้มาจากการกระทำความดีการเว่าดีการคิดดี  คิดดีนี่คือคิดสิ่งที่ดีที่บอมีบาบมาปน การคิดนิสำคัญ เพราะว่าเป็นจิตคิด เฮาสิเฮ็ดอิหยังกะชางจิตบอกให้เฮ็ดเมิ๊ดทุกการกระทำทุกคำเว้าทุกการคิดแมนเมิ๊ด 
ทำบาบด้วยกาย ไม่เท่าเท่าทำบาบด้วยการพูด ทำบาบด้วยการพูดไม่เท่าทำบาบด้วยการคิดบาบ
ละกะการสร้างบุญนั้งสมาธิจิตสงบได้บุญหลายคัก หลายกว่าใส่บาติอีก หลายกว่าการเว่าดี
กะเลยแนะนำให้สวดมนต์นั้งสมาธินั่นจิตสงบเดะนั้นเพราะว่า จิตจดจออยู่แต่กับบทสวดบอให้ผิดแม้แต่ตัวเดียว นั้นแหละจิตสงบ นั้งสมาธินี้ยิ่งสงบกว่าสวดมนต์ แล้วโยมเดือนกะได้บุญนำ ยามโยมเดือนตายถ้าเบิ่งสิคิดฮ้อดหลวงพี่ที่แนะนำให้เฮ็ดบุญตอนเป็นมนุษย์

ชั้นเทวดา มียุ10 ชั้น
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ชั้น11ชั้นเทพ
ชั้น12ชั้นเทพ
ชั้น13ชั้นเทพ
ชั้น14ชั้นพรม
ชั้น15ชั้นดาวดึง
ชั้น16ชั้นนิพพาน  ชั้นนี้ไม่ต้องกลับมาเกิดเป็นอิหยังอีกแล้วสุขตลอด

ถ้าโยมเดือนอยู่กับการทำบุญแค่นี้ ชาติหน้าฮู้เลยว่าสิเป็นจังใด๋ รูปร่างผิวพรรณ ถ้าแมนไปวัดเก็บดอกไม้ไปนำ นั้นละสิเฮ็ดให้งามชาติหน้า อยากรวยกะให้เฮ็ดสังกะทาน
อยากมีตระกูลสูงกะให้น้อบน้อมถ่อมโต
แล้วสุดท้ายนิ ขอให้โยมเดือนยุในศีล5เด้อ มันสิเป็นประโยชน์ต่อโยมเดือนเองในชาติหน้า

แล้วฝากบอกทักษิณแนเด้อ อันเงิน180บาท ที่หลวงพี่เอาให้นั้น กะคือว่าให้ไปออกค่าสร้างศาลานำเพิ้น อยากให้โยมทักษิณนั้นได้สร้างบุญไว้ ถึงสิเป็นเด็กน้อย  เฮ็ดไว้ตะน้อยแฮงดี
แต่ว่าทักษิณนั้นผิดสััจจะต่อหลวงพี่ 
ถ้าทักษิณบ่อเอาเงินมาให้หลวงพี่180บาท เพิ้ลสิได้รับกรรมคัก เป็นหนีสงฆ์เป็นเปตเด้อ
ตอนแรกหลวงพี่บอกแล้วว่าเอาเงินมาให้หลวงพี่เด้อ180บาท หลวงพี่ออกให้ก่อนแล้ว ดะแล้วจั้ดเลย ตอนนั้นถ้าเพิ้นเอาเงินมาคืนหลวงพี่หลวงกะสิ้อาให้เพิ้นใช้
อันที่่จริงแล้วเงิน180บาทนี่ หลวงพี่บาอได้ต้องการดอก หลวงพี่บ่อโลบเกี่ยวกับเรื่องเงิน แต่ว่าหลวงพี่บออยากให้โยมหลานเป็นเปตร
กะคือถ้าตกนรก บาบทั้งหลายที่เคยเฮ็ดไว้เคยสะสมมาจักท่อใด้ชาติภพ มันสิรวมกันตกนรกอยู่ดนๆๆๆๆ หาประมานจำกัดบ่อได้
เวาให้เพิ้นฟังแน่เด้อซอยน้องแน่เด้อโยมเดือน
__________________
หลวงพี่แนะนำ ก่อนวันเกิดไปใส่บาติน่ะโยมเพื่อน  เตรียม ข้าว น้ำ กับข้าว เงินด้วยแล้วแต่จะใส่ ไม่ฝืนตัวเอง   แล้วพอใส่เสร็จแล้วรับพร ให้พูดในใจว่า สาธุพระแม่ธรณีบุญที่ลูกทำวันนี้ลูกขออุทิศให้คุณพ่อแม่ครูบาอาจารย์และญาติมิตรสนิทของลูกและเจ้ากรรมนายเวรของลูกทุกภพชาติที่ผ่านมาถึงชาติปัจจุบัน ขอให้เจ้ากรรมนายอโหสิกรรมให้แก่ข้าพระเจ้าด้วยเถิด
_______________
http://www.pantip.com/cafe/religious/topic/Y3546213/Y3546213.html
____________
อาตมาจะพิมพ์ให้อ่านน่ะ แล้วใช้ปัญญาพิจารณาให้เข้าใจด้วยล่ะ จะได้ไม่ทุกข์ในใจว่า ตัดหญ้าผิดศีลๆผิดอาบัติ  คืออาตมาก็เคยมีความรู้สึกว่า ทั้งที่ก็รู้อยู่ว่าการตัดหญ้าจัดเป็นการพรากของเขียว ก็ยังสั่งให้อาตมาตัด
(แต่อาตมาไม่ตัดหรอกเพราะอาตมารู้ว่าจะเป็นอาบัติ
_________________
ตัด
ต้องขอขมาภาษาบาลีและต้องสำนึกด้วยน่ะ ว่าโดนบังคับใช้ ใจไม่อยากทำกรรมเลย

ไม่อยากทำผิดศีลเกรงกลัวต่อบาปมากที่จะติดตัวไปในตอนที่ละสังขาร คือรักคุณศีลคุณธรรมมาก)
แต่เพราะโดนบังคับใจ ให้ทำเรื่องต้องอาบัติ _____________
"ด้วยผลแห่งบุญที่ข้าพเจ้าได้กระทำแล้วในครั้งนี้
( นึกถึงบุญที่เราทำ )
ขอให้เป็นเหตุปัจจัยให้ข้าพเจ้า
ได้บรรลุมรรคผลนิพพานในอนาคตกาล
อันใกล้นี้เถิดต
แต่หากข้าพเจ้ายังต้องเวียนว่ายตายเกิด
ทุกภพชาติที่จะต้องเกิด ขอให้ให้เกิดในครอบครัวผู้มีสัมมาทิฎฐิ
ขอให้ได้พบพระพุทธศาสานา ได้ฟังพระธรรมที่ถูกต้อง
ได้พบกัลยามิตรชี้ทางสว่างให้แก่ข้าพเจ้าและได้มีโอกาสปฏิบัติธรรมจนบรรลุธรรมชั้นสูงอัน
เป็นปัจจัยให้บรรลุมรรคผลนิพพาน ในอนาคตกาลอัน
ใกล้นี้เถิด"
____________________
กรรมวาจากฐิน
คำถวายผ้ากฐิน
อิมัง ภันเต, สะปะริวารัง,กะฐินจะจีวะระทุสสัง,
สังฆัสสะ, โอโณชะยามะ,สาธุ โน ภันเต,สังโฆ, อิมัง,
สะปะริวารัง,กะฐินะทุสสัง ปะฏิคคัณหาตุ,
ปะฏิคคะเหต๎วา จะ,อิมินา ทุสเสนะ,กะฐินัง,อัตถะระตุ
, อัมหากัง,ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย
ขอน้อมถวายผ้ากฐินจีวรกับทั้งบริวารนี้ แด่พระสงฆ์
ขอพระสงฆ์จงรับผ้ากฐินกับทั้งบริวารนี้ของข้าพเจ้า
ทั้งหลาย รับแล้ว จงกรานกฐิน ด้วยผ้านี้
เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย
สิ้นกาลนาน เทอญ.
คำอปโลกน์กฐิน
รูปที่ 1
ผ้ากฐินทาน กับทั้งผ้าอนิสังสบริวารทั้งปวงนี้ เป็นของ
…… พร้อมด้วย…….ผู้ประกอบด้วยศรัทธาอุตสาหะ
พร้อมเพรียงกันนำมาถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ ผู้
อยู่จำพรรษาถ้วนไตรมาสในอาวาสนี้
ก็แล ผ้ากฐินทานนี้ เป็นของบริสุทธิ์ดุจเลื่อนลอยมา
โดยนภากาศแล้วแลตกลงในที่ประชุมสงฆ์ จะ
ได้จำเพาะเจาะจงลงว่า เป็นของภิกษุรูปใด
รูปหนึ่งก็หามิได้ มีพระบรมพุทธานุญาตไว้ว่า
ให้พระสงฆ์ทั้งปวงยอมอนุญาตให้แก่ภิกษุรูปหนึ่ง เพื่อ
จะทำซึ่งกฐินนัตถารกิจ ตามพระบรมพุทธานุญาต
และมีคำพระอรรถกถาจารย์
ผู้รู้พระบรมพุทธาธิบายสังวรรณนาไว้ว่า ภิกษุรูป
ใดประกอบด้วยศีลสุตาธิคุณ มีสติปัญญาสามารถ
รู้ธรรม 8 ประการ มีบุรพกิจเป็นต้น ภิกษุรูปนั้น
จึงสมควรเพื่อจะทำซึ่งกฐินนัตถารกิจ
ตามพระบรมพุทธานุญาตได้
บัดนี้ พระสงฆ์ทั้งปวง จะเห็นสมควรแก่ภิกษุรูปใด
จงพร้อมกันยอมอนุญาตให้แก่ภิกษุรูปนั้น เทอญ. (ไม่
ต้องสาธุ)
รูปที่ 2
ผ้ากฐินทาน กับทั้งผ้าอานิสังสบริวารทั้งปวงนี้
ข้าพเจ้าพิจารณาเห็นสมควรแก่…..เป็นผู้มีสติปัญญา
สามารถ  เพื่อกระทำกฐินนัตถารกิจให้ ถูก
ต้องตามพระบรมพุทธานุญาตได้ ถ้าพระภิกษุรูป
ใดเห็นไม่สมควร จงทักท้วงขึ้นในท่ามกลางสงฆ์ (
หยุดรอครู่หนึ่ง) ถ้าเห็นสมควรแล้วไซร์ จง
ให้สัททสัญญา สาธุการขึ้นให้พร้อมกัน เทอญ.(สาธุ
พร้อมกัน)
แบบกรรมวาจาสวดให้ผ้ากฐิน
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต
สัมมาสัมพุทธัสสะ.
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต
สัมมาสัมพุทธัสสะ.
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต
สัมมาสัมพุทธัสสะ.
สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ,อิทัง สังฆัสสะ กะฐินะทุสสัง
อุปปันนัง,ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง,สังโฆ อิทัง
สังฆัสสะ กะฐินะทุสสัง อาย๎สมะโต อิตถันนามัสสะ
ทะเทยยะ,กะฐินัง อัตถะริตุง,เอสา ญัตติ.
สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ,อิทัง สังฆัสสะ กะฐินะทุสสัง
อุปปันนัง,สังโฆ อิมัง กะฐินะทุสสัง อาย๎สมะโต
อิตถันนามัสสะ เทติ,กะฐินัง อัตถะริตุง,
ย๎สสายัส๎มะโต ขะมะติ, อิมัสสะ กะฐินะทุสสัสะ,
อายัส๎มะโต อิตถันนามัสสะ ทานัง,กะฐินัง อัตถะริตุง,
โส ตุณ๎หัสสะ,ยัสสะ นักขะมะติ,โส ภาเสยยะ.
ทินนัง อิทัง สังเฆนะ,กะฐินะทุสสัง อายัส๎มะโต
อิตถันนามัสสะ กะฐินัง อัตถะริตุง,ขะมะติ สังฆัสสะ,
ตัส๎มา ตุณ๎หี, เอวะเมตัง ธาระยามิ.
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ผ้ากฐินผืนนี้เกิดขึ้น
แล้วแก่สงฆ์ ถ้าความพรั่งพร้อมของสงฆ์ถึงที่แล้ว
สงฆ์พึงให้ผ้ากฐินผืนนี้แก่ภิกษุผู้มีชื่อนี้เพื่อกรานกฐิน
นี้เป็นญัตติ.
ท่านเจ้าข้า ของสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า
ผ้ากฐินผืนนี้เกิดขึ้นแล้วแก่สงฆ์ สงฆ์ให้ผ้ากฐินผืนนี้
แก้ภิกษุผู้มีชื่อนี้ เพื่อกรานกฐินการให้ผ้ากฐินผืนนี้
แก่ภิกษุผู้มีชื่อนี้ เพื่อกรานกฐิน ย่อมชอบแก่ท่านผู้ใด
ท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้
นั้นพึงพูด ผ้ากฐินผืนนี้ สงฆ์ให้แล้วแก่ภิกษุ
ผู้มีชื่อนี้เพื่อจะกรานกฐินย่อมชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้น
จึงนิ่งอยู่ ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.
(คำว่า อิตถันนามัสสะ ใช้เปลี่ยนตามชื่อของภิกษุ
ผู้รับกฐิน เช่น ขันติธัมโม เปลี่ยนเป็น ขันติธัมมัสสะ
ถ้าภิกษุนั้นอ่อนกว่าผุ้สวด ต้องตัดอายัส๎มะโต
ออกเสีย แล้วเติมภิกขุโน ต่อท้ายคำ อิตถันนามัสสะ
เช่น อายัส๎มะโต อิตถันนามัสสะ เปลี่ยนเป็น
อิตถันนามัสสะ ภิกขุโน)
คำกรานกฐิน
ผ้าสังฆาฏิ  อิมายะ สังฆาฏิยา กะฐินัง อัตถะรามิ.
ผ้าอุตตราสงค์ อิมานา อุตตะราสังเฆนะ กะฐินัง
อัตถะรามิ.
ผ้าอันตรวาสก อิมานา อันตะระวาสะเกนะ กะฐินัง
อัตถะรามิ.
คำอนุโมทนากฐิน
อันภิกษุผู้กรานกฐินนั้น พึงเข้าไปหาสงฆ์
ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า ประคองอัญชลี
กล่าวอย่างนี้ว่า
“อัตถะตัง อาวุโส (ภันเต) สังฆัสสะ กะฐินัง,ธัมมิโก
กะฐินัตถาโร, อะนุโมทะถะ.ท่านเจ้าข้า
กฐินของสงฆ์กรานแล้ว การกรานกฐินเป็นธรรม
ขอท่านทั้งหลาย อนุโมทนาเถิด.”
ภิกษุผู้อนุโมทนาเหล่านั้น พึงห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่า
ประคองอัญชลีกล่าวอย่างนี้ว่า
“อัตถะตัง ภันเต (อาวุโส) สังฆัสสะ กะฐินัง, ธัมมิโก
กะฐินัตถาโร, อะนุโมทามะ. ผู้มีอายุ
กฐินของสงฆ์กรานแล้ว การกรานกฐินเป็นธรรม เรา
ทั้งหลาย อนุโมทนา.”
_______________
อยากจะบรรลุธรรม ให้รู้แล้วก็ถือว่ารู้ ให้ดู
____________
พระป๊อก สอนพระมงคลชัย กิตติโสภโณ นั่งสมาธิ
ไว้พระด่อนนั้งสมาธิ พนมมือ ขอคุณพระพุธธะเจ้า
สาธุ ลูกสิขอนั้งสมาธิ แล้วกะท่องพุธโธ 108จบ ขอให้ลูก พระธรรม พระสงฆ์ พุธออก โธเข้า
108 จบ

*ใช้จิตจับ จับนำโตเฮา
นำขา ในๆร่างกายเฮา ถ้าจิตออกไปหาแม่
กะให้ดึงกลับมา จับนำแขนนำโตเฮา
 คึจังอยู่ในมุ่งกะนั้งได้ ให้ไหว้พระก่อน แล้วกะอธิฐาน ตามข้อแรก แล้วกะแผ่เมตตาให้ตนเองแล้วก็แผ่ให้สัพสัตว์
**2 ให้นั้งสมาธิ แล้วสร้างภาพตัวเองขึ้นมาในภาพนั้นเห็นร่างกายเรานอนอยู่ ส่วนเราเหมือนเป็นวิญณานที่ กำลังมองดูร่างตัวเองอยู่ และก็กำลังเน่่าลงๆไปเรื่อยๆ มีกลิ่นเหม๋นเป็นของไม่สะอาด มีนอนเต็มไปหมด ตับไตไส้พุงทะล่วงออกมา เลือดเต็มไปหมด ผิวหนังจนเหี่ยวแห้ง จนเหลือแต่กระดูก 
(แล้วให้พิจารณากระดูก ดูไปเรื่อยๆดูมันไปเรื่อยๆ
______
นั้งสมา
______
นิจ สัง สะ ยัง โส โค โน ภะ ตะ วา
_______
พระอรหัน และ พระสุปฏิปันโน
(หลวงปู่นิภา)

รู้ความจริง  พระพุธเจ้าองค์ที่1
21:55
________
คุณแม่ธรณี เป็นพยานเด้อผู้ข้าสิอุทิศส่วนกุศลให้เจ้ากรรมนายเวรผู้ข้า
เด้อ สัตว์เล็กสัตว์น้อย ที่ผู้ข้าเคยฆ่าเคยล่วงเกินท่าน  ด้วยจิตด้วยใจ ด้้วยวาจา ด้วยสังขาร ต่อหน้ากะดีหลับหลังกะดี เจตนากะดีบ่อได้เจตนากะดี ฮู้กะดีบ่ฮู้กะดี  เด้อผู้ข้า ขออุทิศให้เจ้ากรรมนายเวรเด้อ ให้ไปเกิดข้างเทิงพุ่นเด้อ  อย่าให้มีเวรมีกรรมต่อกันเลยเด้อ
คือคำที่คุณพระพุทธเจ้าเพินตรัจว่า กรรมย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
___________
สัพเพเทวา วิสาเก  >>> องคต ทศกัน
____________
กราบ3
นะโม3
 คุนพระพุธเจ้า
จักลูกเป็นหยังดอก ลูกนั้นเป็นนี้
ขอให้สิ่งสรรคสิทท ปกปักรักษา
___________
นะโม 3 จบ 
อิมัง ปัตตัง อธิฎฐามิ
(ครองบาต)

03:30 ตื่น ล้างหน้าแปลงฟัน ครองผ้า ขึ้นทำวัดเช้า

10:30 เตรียมฉันตเพล 11:00


16:30 เตรีมตัวทำวัดเย็น 17:00

นะโม3จบ
(ครองผ้า)
พุธธะ คุณนัง
ธัมมะ คุณนัง
สังฆะ คุณนัง
พุธโธ เมนาโถ
ธัมโม เมนาโถ
สังโฆ เมนาโถ
อัตสวาส ปัสวาส นิตสวาส 
สาธุ...
(ครองก่อนแจ้ง)
________
ปะติสังขาโยนิโส ปินถะปาตังปะติเสวามิ
เนวะทะวายะนะ มะทายะนะ มันทะนายะนะ วิภูสะนายะ
_________
นะปุ เนวัง กะริสสามิ
นะปุ เนวัง ภาสิสสามิ
นะปุ เนวัง จินตะยิสสามิ
อุกาสะ ปัสสะถะ พันเตตา อาปัตติโย
อายะติง ภันเต สังวะเรยยะถา

กรรมใดที่ข้าพระเจ้า เคยสาบานอิหยังมา 
ทุกพบทุกชาติ ข้าพระเจ้าขอถอนคำสาบาน







นะปุเนวัง กะริสสามิ
นะปุเนวัง ภาสิสสามิ
นะปุเนวัง จินตะยิสสามิ
อุกาสะ ปัสสะฐะ พันเตตา อาปัตติโย


สาธุเด้อ คุนแม่ธรณี ลูกสิขอกรวดน้ำ อุทิศส่วนกุศลให้เจ้ากำนายเวรผู้ข้า ทุกภพทุกชาติ ทั้งสัตว์เล็กสัตว์น้อยสัตว์ใหญ่ ที่ผู้ฆ่าเคยกุ้ง ปู ปลา หอย หรือคน
__________
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม,
สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง,
อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ,
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ,
ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา,
อิเม สักกาเรทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ,
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.

๒. คำนมัสการ

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ.
(กราบครั้งที่หนึ่ง)

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ.
(กราบครั้งที่สอง)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.
(กราบครั้งที่สาม)

๓. ปุพพะภาคะนะมะการะ

(กล่าวนำ - หันทะทานิ มะยังตัง ภะคะวันตัง วาจายะ อะภิคายิตุง,
ปุพพะภาคะนะมะการัญเจวะ พุทธานุสสะตินะยัญจะ กะโรมะ เส.)

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ ครั้ง)
 

๔. พุทธานุสสะติ

ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัลยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต,
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.
 
๕. พุทธาภิคีติ
(กล่าวนำ - หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส.)

พุทธะวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต,
สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต,
โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร,
วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง.
พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.
พุทธัสสาหัสมิ๑ ทาโส (ทาสี)๒ วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร,
พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม.
พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
วันทันโตหัง (วันทันตีหัง)๓ จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง.
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง๔ สัตถุ สาสะเน.
พุทธัง เม วันทะมาเนนะ(วันทะมานายะ)๕ ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
สัพเพปิ อันตะรายา เม, มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.

(หมอบกราบว่า)

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ.

๑ ให้สวดหยุดเป็นตอนๆ ตามสัญลักษณ์ “ , ” หรือ “ . ”
๑ อ่านว่า พุด - ทัด - สา - หัด - สะ - มิ (เสียง อะ ครึ่งเสียง)
๒ ท่านชายว่า “ ทาโส ” , ท่านหญิงว่า “ ทาสี ”
๓ ท่านชายว่า “ วันทันโตหัง ” , ท่านหญิงว่า “ วันทันตีหัง ”
๔ อ่านว่า วัด - ไท - ยัง ( เ-ย อ่านว่า ไ-ย ทุกแห่ง)
๕ ท่านชายว่า “ วันทะมาเนนะ ” , ท่านหญิงว่า “ วันทะมานายะ ”


๖. ธัมมานุสสะติ
(กล่าวนำ - หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.)
 
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก
เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหีติ.๑
 
๑ อ่านว่า วิน - ยู - ฮี - ติ 
  
 
๗. ธัมมาภิคีติ 
(กล่าวนำ - หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส.)

สวากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย,
โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท,
ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี,
วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง.
ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.
ธัมมัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร,
ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม.
ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
วันทันโตหัง (วันทันตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง.
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง๑ สัตถุ สาสะเน.
ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ(วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
สัพเพปิ อันตะรายา เม, มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.

๑ อ่านว่า วัด - ไท - ยัง

(หมอบกราบว่า)

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม.
 
๘. สังฆานุสสะติ 
(กล่าวนำ - หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อาหุเนยโย๒ ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย,
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

๒ อ่านว่า อา - หุ - ไน - โย

๙. สังฆาภิคีติ
(กล่าวนำ - หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส.)

สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต,
โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ,
สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต,
วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง.
สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.
สังฆัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร,
สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม.
สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
วันทันโตหัง (วันทันตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง.
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน.
สังฆัง เม วันทะมาเนนะ(วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
สัพเพปิ อันตะรายา เม, มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.

(หมอบกราบว่า)

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ.
(แล้วนั่งพับเพียบ)

๑๐. อุททิสสะนะคาถา
(กล่าวนำ - หันทะ มะยัง อุททิสสะนะคาถาโย ภะณามะ เส.)

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปัชฌายา คุณุตตะรา,
อาจะริยูปะการา จะ มาตา ปิตา จะ ญาตะกา ปิยา มะมัง,
สุริโย จันทิมา ราชา คุณะวันตา นะราปิ จะ,
พรัหมะมารา จะ อินทา จะ โลกะปาลา จะ เทวะตา,
ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ,
สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม,
สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ ขิปปัง ปาเปถะ โวมะตัง ฯ,
อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อิมินา อุททิเสนะ จะ,
ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณหุปาทานะเฉทะนัง,
เย สันตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง,
นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว,
อุชุจิตตัง สะติปัญญา สัลเลโข วีริยัมหินา,
มารา ละภันตุ โนกาสัง กาตุญจะ วีริเยสุ เม,
พุทโธ ทีปะวะโร นาโถ ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม,
นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง,
เตโสตตะมานุภาเวนะ, มาโรกาสัง ละภันตุ มา ฯ

๑๑.อะภิณหะปัจจะเวกขะณะปาฐะ
(กล่าวนำ-หันทะ มะยัง อะภิณหะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.)

ชะราธัมโมมหิ ชะรัง อะนะตีโต
เรามีความแก่เป็นธรรมดา ยังไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้
พยาธิธัมโมมหิ พยาธิง อะนะตีโต
เรามีความเจ็บเป็นธรรมดา ยังไม่ล่วงพ้นความเจ็บไปได้
มะระณะธัมโมมหิ๑ มะระณัง อะนะตีโต
เรามีความตายเป็นธรรมดา ยังไม่ล่วงพ้นความตายไปได้
สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว
เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจ ด้วยกันหมดทั้งสิ้น
กัมมัสสะโกมหิ กัมมะทายาโท เรามีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม
กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์
กัมมะปะฏิสะระโณ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย
ยัง กัมมัง กะริสสามิ เราทำกรรมใดไว้
กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ดีหรือชั่วก็ตาม
ตัสสะ ทายาโทภะวิสสามิ เราจะต้องเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น

๑ ธัมโมมหิ อ่านว่า ทำ - โมม - หิ
 
จบบทสวดมนต์ทำวัตรเย็น
_______________
กิตติ โสภโน
10 ก ค 2014  เวลา  11:54 น
____________
ปฏิสังขาโยนิโส ปิณธะปาตัง
ปฏิเสวามิ เนวะธะวายานะ 
มะทะนายะนะ มันทะยานะ นันทะนายานะ
7 ก ค 2557 เวลา 05:45 น
___________________

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น