ชื่อว่าโทษแห่งที่จงกรม ๕ ประการ อะไรบ้าง. อันเว้นจากโทษ ๕ ประการเหล่านี้ คือเป็นที่แข็งขรุขระ ๑ อยู่ในต้นไม้ ๑ มีที่รกกำบัง ๑ แคบเกินไป ๑ กว้างเกินไป ๑ ด้วยการกำหนดอย่างสูง. ท่านกล่าวว่า ที่จงกรมยาว ๖๐ ศอก กว้างศอกครึ่ง. คือ
เดินดู เหมาะ 25 ก้าว ไม่เหมาะ 20 ก้าวตามหลวงตามหาบัว ญาณะสัมปันโณ เขียน
สะอาด ยาวโค้งก็ได้ แขงแต่ไม่ขรุขะก็ได้
คำบริกรรม. บริกรรมว่า โผฏฐัพพะๆพร้อมกับมุ่งเอาจิตไปรู้ที่เท้ากระทบ
หรือ 2. เดินแบบชิวๆมีสติดูจิตไปแบบสบายๆ
หรือ 3. เดินแบบให้มองเห็นเท้าขวาเท้าซ้ายปรากฏทางการเห็นเพื่อให้จิตรู้สึกที่กายส่วนเท้า เป็นผลคือดึงไม่ให้จิตไหลไปกับธรรมารมณ์ความคิดฟุ้งซ่าน
หรือ 4. เดินแบบเอามือขัดหลังให้แจนมือกระทบหลังเวลาเคลื่อนไหวเดิน ใจไม่ไหลไปกับความคิดฟุ้งซ่าน สลับทราบกายทราบใจ
หรือ 5. เดินมือขัดหน้าหรือขัดหลังเหมาะ พระมงคลชัย กิตติโสภโณ เหมาะมือขัดหลังเดินจึงเดินแบบมือขัดหลังมาเรื่อยๆ. ตอนแรกมือขัดหน้าตามหลวงตามหาบัว ญาณะสัมปันโณ แสดงธรรม รู้สึกไม่เหมาะ
หรือ 6 เดินแบบ ขาซ้ายก้าวพูดในใจว่าซ้ายย่าง ขาซ้ายลงถูกพื้นพูดในใจ หนอ
ขาขวาก้าวพูดในใจว่าขวาย่าง ขาขวาลงถูกพื้นพูดในใจว่า หนอ สลับไปเรื่อยๆ พร้อมด้วยระมะดระมัดระวัง ไม่ให้มีความไม่สงบเกิดขึ้นต่อภายนอก. จนเขาตื่นเพราะการเดินของเรา
ครูบาอาจารย์ที่หลวงพ่อปราโมทย์ ไปพักภาวนาด้วย ท่านเดินจรงกลมให้หลวงพ่อปราโมทย์ ปราโมทยโช ดู ท่านเดินแบบปกติๆชิวๆ ไม่ได้ใช้มือขัดหน้า
ท่านเดินเหมือนพระมงคลชัย กิตติโสภโณ เดินเดินแบบชิวๆสบายๆมือขัดหลังเดิน และเดินจรงกลมแบบเน้นให้จิตถูกดึงมารู้ที่ฐานกายมาก ใช้มือขัดหลังขึ้นมาอีก ได้ถอยมาฐาน ตรงหลัง
ทำให้รู้จิตที่ปรุงอยู่กลางอก ที่ปรุงสมุทัย หลวงพ่อปราโมทย ปราโมทยโช ว่า
จิตพัฒนากายในการเดินจรงกลม
มือข้วยหลังแบยชิวๆเดินตามปกติ
มันเป็นอาการของมันเอง
จิตใช้มือซ้ายอ้อมหลังไปจับกล้ามแขนขวาใต้รักแล้ และเดินปกติต่อไป. ใจมารู้สัมผัสที่หลังถูกแขน
และต่อมา
และพัฒนาชอบการแหน่นดีขึ้นมาอีก จิตมาจับที่หลังที่แขนกระทบหลัง
วันต่อมาก็
เดินแบบมือขัดหลัง
การนอนของพระอาจารย์มงคลชัย กิตติโสภโณ ช่วงใจอินทรีย์กำลังโน้มไปทางภาวนา
นอนจำวัดคือ
นอนสำเร็จสีหะไสยาทเหมือนพระสัมมาสัมพุทธะ
ใจกำลังใฝ่ทำทำความเพียร แล้ววางเท้า วางแขนมือค้ำตามปกติ แต่มันทรงจะล้มๆ เลยจัดการส่วนขาใหม่ปรับๆตรงเท้าสมดุลจึงกลายเป็นไม่ทรงจะล้ม กลายเป็นทรงตัวอยู่ได้ ในท่าข้างบนเหมือนพระสัมมาสัมพุทธะนอนสำเร็จสีหะไสยยาท แต่ส่วนล่างไม่เหมือนดั่งเช่นในพระพุทธรูปปางสำเร็จสีหะไสยยาท
สงสัยว่าเท้าวางข้วยกันยังไง เลยเปลี่ยนการวางเท้าใหม่แบบไม่ให้ล้ม สบายใจดี แล้วนอนตามปกติ ประมาณนี้ช่วงใจมีกำลังอินทรีย์ขึ้นทำความเพียรไปตามอ่านจากพระไตรปิฏก พระสัมมาสัมพุทธนอนสำเร็จสีหะไสยยาท
ไม่ได้เชื่อเท่าไหร่ ว่าพระสัมมาสัมพุทธะนอนสำเร็จสีหะไสยยาทเหมือนท่าในพระพุทธรูปปางสำเร็จสีหะไสยยาทเท้าและนิ้วเท้าท่านเปะแบบนั้น
และช่วงหนึ่งไม่ใช้หมอนรองศรีษะนอนเลย
เพราะอ่านไปเจอว่า พวกคน.. ใช้รากไม้หนุนฒรีษะนอนแทนหมอน
พระอาจารย์มงคลชัย กิตติโสภโณ. จึงไม่ใช้หมอนรองนอน อยู่ช่วงหนึ่ง เพราะมันสบายเพิลเหมือนในพระสูตรว่า ใช้การนอนสำเร็จสีหะไสยยาทแทนช่วงนั้น ได้ประมาณ 2 อาทิตย์ กว่าๆ
พระอาจารย์มงคลชัย กิตติโสภโณ อ่านพระสูตรไปเจอพระสัมมาสัมพุทธะ ติเตียน ภิกษุผู้ชอบเอนกายนอนหาความสุข เกลียจคร้านทำความเพียร.
จากนั้นพระอาจารย์มงคลชัย กิตติโสภโณ. จึงตั้งสัจจะว่าจะไม่นอนเอนกายราบไปกับที่นอนในเวลากลางวัน 5 วัน ใช้การนั่งพิงผนังปูน
นั่งพักเฉยๆ แต่มันอ่อนล้าและเพราะฉันเพลใจตึงเคลิ้มๆไปหาง่วงนอนและก็ใจเริ่มไหลไปกับไปหาหลับ. แล้วกายมันทรุดลงเลือนลงจนมาเรื่อยๆ กำลังจะลงไปถึงนอนราบกับพื้น มันเป็นอาการเคลื่อนไหว และเคลิ้มๆคล้ายกำลังจะหลับไหล ก็ตื่นขึ้นมาเห็นอาการกายกำลังจะลงไปถึงนอนราบกับพื้นเสื่อ. ก็มาพิจารณาวิเคราะห์ดูว่าผิดสัจจะบารมีหรือไม่น่ะ ก็คิดๆจึ้นมาๆความง่วงจึงหายไป. หลังส่วนสะเอวถูกเสื่อ. เลยไม่ผิดสัจตะบารมี
พระอาจารย์มงคลชัย กิตติโสภโณ. รู้สึกว่าไม่ง่ายๆชิวๆเลยบำสัจจะบารมี มีความลำบากอยู่บ้าง มีความคิดว่า เมื่อไหร่จะครบวันสุดท้ายที่ตั้งสัจจะบารมีไว้ ใคร่อยากให้ถึงวันนั้น.
ต่อมาก็ไม่นอนราบกับพื้นมาเรื่อยๆจนครบวันที่ตั้งสัจจะบารมีไว้ ครบแล้ว รู้สึกดีใจสบายใจ
นั่งพิ่งหลับตาพักผ่อนเฉยๆ. ไม่ใช่นั่งพิงเพื่อจะนอนหลับ
พระอาจารย์มงคลชัย กิตติโสภโณ บำขันติบารมีในช่วงธุดงค์ ขณะกำลังนอนอยู่ในเต้นทหารที่พระเขาใช้กันเวลาไปภาวนาในป่า พอทดแทนกลดพระได้ ฝนได้ตกลงมาโดนเต้นเสียงป๊อกแป๊กๆ และตกแรงขึ้น จิตจึงตื่นจากภวังค์หลับขึ้นมา และรู้ว่าฝนตกแรง จึงรีบเก็บหนังสือและดูSmart phone เวลา ใน Smart phone imobile iq 5.1 เป็นเวลา แถว 01:11 น แล้วปิดโทรศัพท์Smart phone ไว้และเก็บSmart phone มาไว้ในถุงกันเปือกน้ำ และก็นอน ไม่ได้ถึงหลับเลย ฝนแรงขึ้นน้ำไหลเข้ามาถูกผ้าถูกผิวกายรู้สึกเย็นและเปือกเรื่อยๆ จึงลุกขึ้นนั่งท่าขัดสมาธิ เต้นทหารไม่อยู่ในทรงกางปกติเลย เต้นพับไม่เป็นท่าเข้ามาบีบมาเหมือนเราอยู่ในห่อเต้น และก็หายใจปกติ และความเย็นมาเรื่อยๆกายเปือกเรื่อยๆหนาวกายเรื่อยๆ จนกายเปือกหมดหนาวเย็นทั้งตัว หนาวเรื่อยๆ อากาศเย็นเรื่อยๆเปือกเรื่อยๆหนาวเรื่อยๆ อากาศเย็นเรื่อยๆเปือกเรื่อยๆ.. และก็คิดขึ้นมาว่า. ต้องอดทนต่อภาวะที่เป็นอยู่เช่นนี้ ช่วงเช้าพระอาทิตย์ขึ้นก็จะมีมาแล้ว และความคิดก็หายไป หนาวและเย็นและเปือกเรื่อยๆเพราะฝนตกไม่หยุด นั่งอดทนในเต้นอยู่อย่างนั้น...... และก็คิดขึ้นมาอีกว่า "ช่วงเช้าพระอาทิตย์ขึ้นจะมา" แล้วก็นั่งอดทนในเต้น. อดทนต่อความหนาวพร้อมกับกายที่เปือก. มันต้องอดทน. อดทนนานมาก....................................................................................................หนาว................... . ....... .. . ................ ... . ....................... นั่งอดทน นั่งกำหนดใจอดทน...นานมาก. ..........................................หนาวเย็นเพิ่มขึ้น...พรุ่งนี้เช้าพระอาทิตย์ก็จะมา มี และ นั่งกำหนดใจอดทน......... และก็อดทนท่ามกลางความหนาวตัวเปือกเรื่อยๆ.... .
..จนถึงตี 05:30 ก็คลี่เต้นออกมาและเดินดูเพื่อนพระไม่เจอใครเห็นแต่เต้นเป็นท่าปกติ หลังนู้นหลังนี้ เงียบกริบ จึงเดินออกไปว่าจะอาศัยสถานที่สำนักงานกลมป่าไม้ หลบความหนาวเย็นพร้อมกับตัวที่เปือก แต่ประตูปิด
จึงเดินกลับมาที่โขดหิน เห็น มีพระรูปหนึ่งกับกองไฟกองหนึ่งท่านกำลังก่อไฟเพิ่มขึ้นมา.
จึงเดินเข้าไปพิงไฟ และก็เริ่มเช้าเรื่อยๆ พระก็ออกมาจากเต้นกัน และรวมกัน
พระอาจารย์มงคลชัย. กิตติโสภโณ จึงไปนั่งร่วมกับเพื่อนพระ
ต่อมาไปเข้าถ้ำ เดินไปๆ รู้สึกว่าขาดอากาศหายใจไปเรื่อยๆ ก็เดินต่อไป รู้สึกขาดอากาศหายไปเรื่อยๆ ...... จนรู้สึกว่าเหวียนหัวมากรู้มึกขาดอากาศหายใจจึงเดินย้อนกลับมา
บำขันติบารมี
ร้องเท้าหลุดพยายามยัดหัวกลมใส่ในรู หลายครั้งมันก็หลุด เลยเดินแบบร้อนๆพื้นทางดำ และคิดขึ้นมาว่า เทวดาทางครูบาอาจารย์วัดหนองป่าพง ทดสอบเรา ว่าจะพอผ่านให้เข้าไป ภาวนาที่วัดหนองป่าพงในช่วงนั้นๆไหม ก็ฮึดใจอดทนต่อด่านทดสอบที่เข้าใจในช่วงนี้ที่รองเท้ามันหลุดเอง และก็เดิน..... เดินอดทนต่อความร้อนบนพื้นถนนช่วง ใกล้จะเที่ยง แล้วมาเดินเหยียบเส้นขาวไปเรื่อยๆรู้สึกร้อนน้อยลง เดินบนเส้นขาใเรื่อยๆร้อนมาก จึงลงมาเดินพื้นนอกทาง เหยียบพวกหญ้าแถวข้างทาง เหยียบดินร้อน เหยียบหญ้า เหยียบเศษขยะที่เขาทิ้งข้างทาง ไปเรื่อยๆ และช่วงหลังๆ เดินบนพื้นถนนและที่ร้อนน้อยข้ทงพื้นถนนจนถึงจุดหมายที่รอรถตู้บ้านหนองขุน และรอรถตู้ วิ่งไป อุบล มาจากทาง อำเภอลืออำนาจ
ระหว่างเดินร้อนๆ เดินไม่เป็นท่าปกติเลยเพราะร้อน โอ้ย.ๆ เบาๆ ต้องทำให้ได้และอดทนต่อโผฏฐัพพะร้อนๆ เท้าพอง อดทนเดินต่อ พักเท้าร้อน และก็ไปต่อ ไม่นาน เสียเวลา รอบรถ และขากลับมันจะตรงกับค่ำมืด. มืดกลัวผีป่าช้าบ้านหนองมะทอ. จึงนั่งพักที่ศาลา. แต่รถวิ่ง แสงไฟสาดมา และรู้สึกอายๆ จึงเดินออกไปไร่นา หาที่เหมาะ นั่งมีรองๆ ตั้งใจไว้ว่าจะนั่งสมาธิจนสว่าง และก็นั่ง....................................................................................................................................................ตะเอาให้รวมเป็นสมาธิไปจนถึงเช้า....................................................................................................................................................................................................................... จนถึงเช้า คิดว่า เกรงว่าเขาจะมาเห็น จึวออกเดินทาง กลับวัด แต่เช้ามืด ถึงวัด อาบน้ำนอนจำวัด มารดามาที่กุฏิพร้อมกับปิณโต เพราะไม่เห็นขึ้นไปศาลา.
รู้สึกง่วงๆไม่ค่อยไหว จึงรับบิณโตเพลไว้
ใสๆ จากนั้น.... พักผ่อนนอน
ไม่มี ก้นเปือก ดินชุ่ม เพราะพื้นถนนดำร้อน ตั้งใจอดทนเดินในด่านทดสอบ เท้าพอง มาดูที่วัดฝ่าเท้ามีต่อมน้ำหลายจุด 2 ฝ่าเท้า
ม่วน
อดทนต่อความร้อน
ผ่าน
นั่งอดทนต่อ อุปัฌายะแสดงธรรมและวิพากวิจารย์ตน ล้างแก้ว บอกล้างแก้ว ก็ล้างแต่แก้ว ถาดบ่ล้าง มางุมไว้เหมือนเดิม. มันไม่มีฝุ่นเท่าไหร่ ไม่ได้ใช้ แก้วในถาด ตรงส่วนใช้งานศพ บนใต้กุฏิปู่เลิศ บนตู้
มันสกปรกเหมือนเดิม ไม่มี ดูโทสะขึ้นมา..... และก็เฉยต่อการแสดงธรรมแบบนั้น ชาวบ้านหัวเราะ ฮะฮะฮ่า... ขำ
เมื่อนั่งสมาธิออกมาแล้วค่ำมืดบนบรรไดเมรุ มองไป มืด เฉยๆ. สักครู่หนึ่ง ก็เกิดความน่ากลัวผี และเกิดความกลัวขึ้นมา. แล้ว หาวิธีแก้ปัญหากลัวผี เลยให้ศีล5ผีและแสดงธรรม หายกลัว
จากนั้นเดินทางไปหาพ่อหมานแต่ก่อนเป็นภิกขุบวชที่สกลนครสายอาจารย์ฝั้น อาจาโร
แล้วเล่าให้ฟัง และถามวิธีแก้กลัวผี
พ่อหมานตอบว่า. บักกล้ากะอยู่นี่ บักขี้ร้ายกะอยู่นี่ บักขี้แพ้กะอยู่นี่ บักกลัวก็อยู่นี่ บักขี้ล้ายกะอยู่นี่ เฮาต้องดึงมันออกมา บักกล้าไม่กลัวผี จึงเข้าใจว่า ให้ดึงจิตที่ดีออกมา จะไม่กลัวผี
เขาลงไป เราแสดงธรรม
เดียวพรุ่งนี้พระอาทิตย์ขึ้นสว่างก็มา
กสิน คืนสู่กายฐาน
นึกภาพกระโหลกศรีษะด้านหลัง ขาวๆ. พร้อมกับกำหนดจิตมาที่กระโหลกศรีษะด้านหลัง
จิตหายเตลิดไปข้างหน้า
กสินคืนสู่ฐานกาย
นึกภาพ กระดูกสันหลัง ขาวๆ พร้อมกับกำหนดจิตมาที่ด้านหลังตรงกระดูกขาวๆ
จิตจะคืนสูกาย
ดูก่อนสารีบุตร เราเมื่ออยู่ในที่นั้น ก็เสียสละผ้าที่มีค่ามากที่ตนนุ่งห่มเสีย ก็เมื่อจะละผ้า ได้เห็นโทษ ๙ ประการในผ้านั้นจึงละเสีย.
ความจริงประกาศโทษ ๙ ประการในผ้าแก่ผู้บวชเป็นดาบสทั้งหลาย.
โทษ ๙ ประการคืออะไร ทรงแสดงว่า เราละผ้าที่ประกอบด้วยโทษ ๙ ประการเหล่านี้คือ ผ้าเป็นของมีค่า ชีวิตนักบวชอยู่ได้ด้วยผู้อื่น ผ้าหมองไปทีละน้อยด้วยการใช้ ผ้าที่หมองแล้วจำต้องซักต้องย้อม ผ้าเก่าไปด้วยการใช้ ผ้าที่เก่าแล้วจำต้องทำการชุน ทำการปะ ผ้าเกิดได้ยากในการแสวงหาใหม่ ไม่เหมาะแก่การบวชเป็นดาบส เป็นของสาธารณะทั่วไปแก่พวกโจร ต้องคุ้มครองโดยที่พวกโจรลักไปไม่ได้ เป็นฐานการแต่งตัวของผู้นุ่งห่ม ผู้ที่พาเที่ยวไปกลายเป็นคนมักมาก แล้วจึงนุ่งผ้าเปลือกไม้.
บทว่า วากจีรํ ความว่า เราถือเอาผ้าที่สำเร็จด้วยเปลือกไม้ ซึ่งกรองด้วยหญ้ามุงกระต่ายเป็นเส้นๆ ทำแล้ว เพื่อใช้นุ่งห่ม.
บทว่า ทฺวาทสคุณมุปาคตํ ได้แก่ ประกอบด้วยอานิสงส์ ๑๒ ประการ.
ในบทนี้ คุณศัพท์มีอรรถว่าอานิสงส์ เหมือนในประโยคเป็นต้นว่า สตคุณา ทกฺขิณา ปาฏิกงฺขิตพฺพา พึงหวังได้ทักษิณามีอานิสงส์ร้อยหนึ่ง.
ม อักษรทำการต่อบท ถึงพร้อมด้วยคุณ ๑๒ ประการเหล่านี้ คือ ผ้าเปลือกไม้มีอานิสงส์ ๑๒ ประการคือ มีค่าน้อย ๑ ไม่เนื่องด้วยผู้อื่น ๑ อาจทำได้ด้วยมือตนเอง ๑ แม้เมื่อเก่าเพราะการใช้ก็ไม่ต้องเย็บ ๑ ไม่มีโจรภัย ๑ ผู้แสวงหาก็ทำได้ง่าย ๑ เหมาะแก่การบวชเป็นดาบส ๑ ไม่เป็นฐานการแต่งตัวของผู้ใช้ ๑ มีความมักน้อยในปัจจัยคือจีวร ๑ ใช้สะดวก ๑ เปลือกไม้ที่เกิดก็หาได้ง่าย ๑ แม้เมื่อผ้าเปลือกไม้สูญหายก็ไม่เสียดาย ๑.
ครั้งนั้น สุเมธบัณฑิตอยู่ ณ บรรณศาลาอาศรมนั้น ตอนใกล้รุ่งก็ลุกขึ้นพิจารณาถึงเหตุออกบวชของตน คิดอย่างนี้ว่า เราละบ้านเรือนซึ่งมีอาการประหนึ่งที่อยู่อันประเสริฐของเทพยดา อันงดงามด้วยสมบัติอันโอฬาร น่ารื่นรมย์ของคฤหัสถ์ชนด้วยการสัมผัสกำไลมือกำไลเท้าทองใหม่เป็นต้นระคนด้วยเสียงและการหัวเราะการพูดที่ไพเราะ เหมือนละก้อนเขฬะ เข้าไปยังป่าตโปวัน บำเพ็ญตบะเครื่องลอยบาปของชนทั้งปวง เพราะเป็นผู้เพลินด้วยวิเวก แต่การอยู่ที่บรรณศาลา ณ อาศรมนี้ของเราก็เป็นเหมือนการครองเรือนครั้งที่สอง เอาเถิด เราจะอยู่เสียที่โคนไม้.
ด้วยเหตุนั้น จึงตรัสว่า
เราละบรรณศาลาอันเกลื่อนด้วยโทษ ๘ ประการ.
แก้อรรถ
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อฏฺฐโทสสมากิณฺณํ ความว่า เกลื่อนคือประกอบพร้อมด้วยโทษ ๘ ประการ.
โทษ ๘ ประการอะไรบ้าง.
พระมหาสัตว์เห็นโทษ ๘ เหล่านี้ คือการที่สร้างให้สำเร็จจำต้องใช้เครื่องสัมภาระมาก ๑ จำต้องบำรุงอยู่เป็นนิตย์ด้วยหญ้าใบไม้และดินเหนียวเป็นต้น ๑ จำต้องออกไปโดยเข้าใจว่า ไม่มีเอกัคคตาจิตสำหรับผู้จำต้องออกไปในเวลาไม่สมควร ด้วยคิดว่า ขึ้นชื่อว่าเสนาสนะ จักทรุดโทรมไป ๑ ต้องทนุถนอมกาย เพราะกระทบเย็นร้อน ๑ ต้องปกปิดคำครหาที่ว่า ผู้เข้าไปบ้านเรือนอาจทำชั่วอย่างใดอย่างหนึ่งได้ ๑ ต้องหวงแหนว่านี้ของเรา ๑ ต้องนึกอยู่เสมอว่า นี้บ้านเรือน มีอยู่อย่างผู้มีเพื่อน ๑ ต้องเป็นของทั่วไปเป็นอันมาก เพราะต้องทั่วไปแก่สัตว์ทั้งหลายมีเล็น เลือด จิ้งจกเป็นต้น ๑ ดังนี้แล้วจึงละบรรณศาลาเสีย.
บทว่า คุเณหิ ทสหุปาคตํ ความว่า เราปฏิเสธที่กำบัง เข้าไปยังโคนไม้อันประกอบด้วยคุณ ๑๐ ประการ
คุณ ๑๐ ประการอะไรบ้าง.
ตรัสว่า เราเห็นคุณ ๑๐ เหล่านี้ คือ มีความริเริ่มขวนขวายน้อย ๑ ได้ความไม่มีโทษ โดยง่ายว่าเพียงเข้าไปโคนไม้นั้นเท่านั้น ๑ ทำอนิจจสัญญาให้ตั้งขึ้นด้วยการเห็นความแปรปรวนของต้นไม้และใบไม้ ๑ ไม่ตระหนี่เสนาสนะ ๑ เมื่อจะทำชั่ว ณ โคนไม้นั้นย่อมละอาย เพราะฉะนั้นจึงไม่มีที่ลับทำชั่ว ๑ ไม่ทำความหวงแหน ๑ อยู่กับเทวดาทั้งหลาย ๑ ปฏิเสธที่กำบัง ๑ ใช้สอยสะดวก ๑ ไม่ห่วงใยเพราะเสนาสนะคือโคนไม้ หาได้ง่าย ในทุกสถานที่ไป ๑ แล้วจึงเข้าไปยังโคนไม้.
และตรัสว่า
โคนไม้ พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสรรเสริญแล้ว
และตรัสว่า เป็นนิสสัย ที่อาศัยที่อยู่ของผู้สงัด เสมอ
ด้วยโคนไม้ จะมีแต่ไหน.
แท้จริง ผู้อยู่โคนไม้อันสงัด อันกำจัดความ
ตระหนี่ที่อยู่ อันเทวดารักษาแล้ว ชื่อว่าผู้มีวัตรดี.
ผู้เห็นต้นไม้และใบไม้ ที่มีสีแดง เขียว เหลือง
อันหล่นแล้ว ย่อมบรรเทานิจจสัญญาเข้าใจว่าเที่ยง
เสียได้.
เพราะฉะนั้นแล ผู้มีปัญญาเห็นประจักษ์ ไม่
ควรดูหมิ่นโคนไม้อันสงัด ที่เป็นทรัพย์มรดกของ
พระพุทธเจ้า เป็นที่อยู่ของผู้ยินดียิ่งในภาวนา.
ฐีติภูตังญาณทัศนะ
หลักธรรมคำสอนของหลวงปู่ฯ นั้น จะมีอย่างง่ายๆ สำหรับผู้ถือศีล สำหรับพระภิกษุที่ปฏิบัติธรรม และ สำหรับพระวิปัสสนาที่ติดปัญหาภาคปฏิษัติในเรื่องที่ละเอียดอ่อนหลวงปู่ฯ จะแก้ปัญหา และแนะนำสั่งสอนให้ ทำให้พระนักปฏิบัตินำแนวทางไปปฏิบัติ และสำเร็จลุลวงขึ้นในระดับที่สูงๆต่อไป มีครั้งหนึ่งอาจารย์วรวิทย์ ตงศิริ ลูกศิษย์ได้ถามถึงเรื่องฐีติภูตังญาณทัศนะ หลวงปู่ฯท่านได้ตอบว่า “ เมื่อจิตสงบลงไปอาการสงบดังกล่าวนั้น ภาษาปริยัติ เรียกอาการนั้นว่า ฐีติภูตัง หมายถึงจิตไม่มีอาการปรุงแต่ง นิ่งอยู่ เป็นอัปนาสมาธิ เหมือนเด็กแรกเกิด จิตบริสุทธ์ไม่มีมีกิเลส เหมือนน้ำที่ลมไม่พัดกวนสะอาด มันเคยสะอาดแต่เมื่อมีนามรูปเข้ามาทางหู ตาจมูก ลิ้น กาย แล้วจะปรุงแต่ง เมื่อจิตลงสู้ฐีติภูตัง แล้วให้กำหนดเห็นสิ่งต่างๆ เป็นปฏิกูล แล้วพิจารณาให้คลายกำหนัดจนเกิดนิพพิทาญาณ แล้วพิจารณาให้คลายออกจากร่างกาย เรียกว่า ยถาภูตังญาณทัศนะ แล้วจะคลายกำหนัด ความรักจากสิ่งต่างๆ ความสิ้นรัก ความเกลียดจะออกไปแล้วจะเกิดวิราคะ เกิดวิมุติต่อไป จึงจะสิ้นสุด
#หลวงปู่คำพันธ์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น