วันอังคารที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ศีล 4. แบบ. ทำให้เกิดเป็นมนุษย์ เทวดาได้ เมื่อเป็น

เมื่อวานไปให้ศีล พูดคุยให้ธรรมะ จิตเชื่อมไปทางธรรมของโลกเลย
จะรู้สึกถึง "ภาวะอย่างหนึ่ง คือยึดมั่นถือมัน และมีจิตน้อมไปในทางโลกอย่างชัดเจน"

และรู้สึกมืดมนมองไม่เห็นธรรมในแบบ
สภาวะในธรรม เลย เป็นภาวะจิตออกออก
ภาวะเช่นนี้ คงเกิดกับพระหลวงปู่หลวงตา
เป็นแน่

และท่านชินกับภาวะเช่นนี้แล้ว
คงจะแก้ยาก

ไฉนเลย เราพอที่จะไปทางธรรมได้
เราควรไม่หลงอยู่ที่นี้อีกต่อไป แต่ควรหาหนทางออกไปจาก กัณยาณมิตรที่ไม่ทำความเพียรเพราะไม่เห็นภัยในสังสารวัฏ

แม้แต่มารดา ก็ยังเป็นผู้ไม่เห็นภัย
เราควรถอยออกห่าง


หลวงพ่อจรัญ มรณะภาพแล้ว
"แม้แต่พระเกจิ ความตายยังมาถึงร่างกายได้"
แล้ว เราจะรอดเหรอ..  
  ถามตนเอง?
ก็ตอบว่าไม่รอด

พระพุทธเจ้าตรัสว่า
#ภิกษุทั้งหลาย กายนี้คือกรรมเก่า ไม่ใช่ของเธอ และไม่ใช่ของใครทั้งหลาย แต่กายนี้เป็นกรรมเก่า อันมีเหตุปัจจัยจึงมีขึ้นได้

#เหตุปัจจัย คือ ศีล ๕ หรือ กุศลกรรมบท๑๐

และบุญกุศลจากการเคยรักษาศีลตรงๆในหลายชาติ ถึงคราวให้ผล จึงเข้าท้องมนุษย์ได้

และศีลที่รักษารักษาทรงได้ไม่นาน แต่สะสมไว้หลายครั้งหลายหน เรียกว่าเก็บเล็กผสมน้อยก็ได้
ให้ผลต่อติดกัน จึงเข้าท้องมนุษย์ได้

#และศีลที่เกิดจากภาวนาให้ผล จึงเข้าท้องมนุษย์ได้

(ระยะเวลาก่อนที่ความตายจะมาถึงร่างกายนี้ ควรอย่างยิ่งที่จะ แบ่งเวลา เป็นช่วงๆ ภาวนา ศีลจะอยู่ในภานาอัตโนมัติ)

วิธีภาวนา ต้องเข้าใจก่อน

เวทนามี๓อย่าง
๑.สุขเวทนา คือ อารมณ์สุข
๒.ทุกข์เวทนา คือ อารมณ์ทุกข์
๓.อทุกขมสุขเวทนา คือ อารมณ์เฉยๆไม่สุขไม่ทุกข์

เมื่อเรามีความสุขใจ นั้นแสดงว่า จิตไปรู้สุขเวทนา

เมื่อเราทุกข์ใจ นั้นแสดงว่า จิตไปรู้ทุกข์เวทนา

เมื่อเราไม่สุขไม่ทุกข์ นั้นแสดงว่า จิตไปรู้ อุเบกขาเวทนา คือเฉยๆ

ให้เรามีสติตื่นรู้ สังเกต3อารมณ์นี้ให้บ่อยๆ
ไม่ต้องรู้นานก็ได้ แต่รู้บ่อยๆ

พระสัมมาสัมพุทธะตรัสว่า ผู้ปฏิบัติไม่ยินดีไม่ยินร้าย . จะเป็นผลทำให้ 
1สัมมาทิฏฐิเกิดขุึ้น 
2สัมมาสังกับโปเกิดขึ้น
3สัมมาสติ
4สัมมาสมาธิ
5ล้มมาวาจา
6สัมมาฯ
7สัมมาฯ
8สัมมาฯ
ส่งต่อให้อวิชชาดับ
วิญญาณดัย
นามรูปดับ
ผัสสะดัย
เวทนาดับ
ตัณหาดับ
อุปาทานดับ
ภพดับ
ชาติดับ
ชรา ดับ มรณะ ดับ โสกะ ดับ ปริเทวะ ดับ ทุกข์โทมนัส ดับ อุปายสะ ดับ







พพระอาจารย์มงคลชัย กิตติโสภโณ พิจารณา. พระสูตรลงไปทึ่พระสูตรเก่าที่เคยอ่าน  ที่ว่า พระสัมมาสัมพุทธะตรัสให้สำรวมอินทรย์  ไม่ยินดี ไม่ยินร้าย นั้น  มันจะกลายเป็น อุเบกขา เองของจริง. นี่เอง       เพราะได้อ่านพระสูตรต่อมาว่า ไม่ยินดี ไม่ยินร้าย ต่อรูป ทรงไว้ซึ่งอุเบกขา  เสียง กลิ่น. รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์  

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น