วันอังคารที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2565

อือ..ถ้าจิตมีความพอใจแล้วมันพอใจในผัสสะด้วย พอใจในเวทนาด้วยแตกออก พอใจในสัญญาด้วย พอใจในสังขารด้วย พอใจในความรู้แจ้งด้วยเพราะจิตเป็นประธานถ้าจิตไม่มีราคะความกำหนัดในธรรมารมณ์เสียแล้ว จิตจะเฉยกับรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หรือถ้ามุมขันธ์ คือเฉยกับ รูป เวทนา สัญญา สังขาร คำถามข้อล่างนี้ไม่ควรจะมีเพราะจะทำให้ผู้ปฏิบัติ กระโดดข้ามขั้นแทนที่จะให้เขาอบรมณ์อินทรีย์ให้เจริญแก่กล้าขึ้นแล้วมาเห็นเอง (มาเห็นวิญญาณเกิดดับ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)ถาม และถ้าจิตไม่มีความพอใจในอาการความรู้แจ้งธรรมารมณ์เสียแล้วจะเป็นอย่างไร?จิตจะไม่มีความใจในอาการความรู้แจ้งอายตนะอื่นๆจะเป็นอาการความรู้แจ้ง ทางตาคือรูปทางหูคือเสียง ทางจมูกคือกลิ่น ทางลิ้นคือรส ทางกายคือโผฏฐัพพะ#วิญญาณ คือ(อาการความรู้แจ้ง)(อาการที่รู้แจ้ง)

อือ..ถ้าจิตมีความพอใจแล้ว
มันพอใจในผัสสะด้วย พอใจในเวทนาด้วย

แตกออก พอใจในสัญญาด้วย พอใจในสังขารด้วย พอใจในความรู้แจ้งด้วย

เพราะจิตเป็นประธาน

ถ้าจิตไม่มีราคะความกำหนัดในธรรมารมณ์เสียแล้ว  จิตจะเฉยกับรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ 
หรือถ้ามุมขันธ์ คือเฉยกับ รูป เวทนา สัญญา สังขาร 


คำถามข้อล่างนี้ไม่ควรจะมี
เพราะจะทำให้ผู้ปฏิบัติ กระโดดข้ามขั้น
แทนที่จะให้เขาอบรมณ์อินทรีย์ให้เจริญแก่กล้าขึ้นแล้วมาเห็นเอง (มาเห็นวิญญาณเกิดดับ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)

ถาม และถ้าจิตไม่มีความพอใจในอาการความรู้แจ้งธรรมารมณ์เสียแล้ว
จะเป็นอย่างไร?

จิตจะไม่มีความใจในอาการความรู้แจ้งอายตนะอื่นๆ
จะเป็นอาการความรู้แจ้ง ทางตาคือรูป
ทางหูคือเสียง ทางจมูกคือกลิ่น ทางลิ้นคือรส ทางกายคือโผฏฐัพพะ



#วิญญาณ คือ
(อาการความรู้แจ้ง)
(อาการที่รู้แจ้ง)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น