วันเสาร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2565

๑ การไปวิพากษ์วิจาร ต่อ โลกภายนอกคือ รูปเสียงกลอ่นรสโผฏฐัพพะในทางยินดี ก็เป็นกามฉันทะราคะ๒ การไปวิพากษ์วิจารย์ ต่อโลกภายนอกคือ รูปเสียง ฯในทางไม่พอใจโทสาพยาบาท๓ การที่ หดหู่ง่วงงุ่น ซึมเซา ขี้เกลียดขี้คร้าน อ่อนแรงไม่มีพลัง ก็คือ ถีนะมิดทะ ต่อโลกภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส ฯ๔ การที่ ฟุ้งซานร้อนใจ ต่อโลกภายนอกคือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์(ขมวดๆ)ฯก็คือ อุจทัจจะกุกุจะ๕ การที่มีความฟุ้งซ้านลังเลสงสัยต่อโลกภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมะสังขารที่ปรุงจนหลงขาดสติถ้าจิตมีนิวรณ์แล้วแม้จะทำกายกรรมอะไร ก็โสกะปริเทวะแม้จะทำวตีกรรมอะไร ก็โสกะปริเทวะไม่ต้องกล่าวถึง มโน เพราะ มโน เป็นทางเชื่อ วจีกรรม กายกรรมเหมือนกับว่า มโน อยู่ปากท่อน้ำ วจีกรรมอยู่หิน กายกรรมอยู่ทรายนิวรณ์ข้อ๑ คือ ราคะนิวรณ์ข้อ๒ ,๔ คือ โทสะนิวรณ์ข้อ๓ ,๕ คือ โมหะ

๑ การไปวิพากษ์วิจาร ต่อ โลกภายนอก
คือ รูปเสียงกลอ่นรสโผฏฐัพพะ
ในทางยินดี ก็เป็นกามฉันทะราคะ

๒ การไปวิพากษ์วิจารย์ ต่อโลกภายนอก
คือ รูปเสียง ฯ
ในทางไม่พอใจโทสาพยาบาท

๓ การที่ หดหู่ง่วงงุ่น ซึมเซา ขี้เกลียดขี้คร้าน อ่อนแรงไม่มีพลัง 
ก็คือ ถีนะมิดทะ  ต่อโลกภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส ฯ

๔ การที่ ฟุ้งซานร้อนใจ ต่อโลกภายนอก
คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์(ขมวดๆ)ฯ
ก็คือ อุจทัจจะกุกุจะ


๕ การที่มีความฟุ้งซ้านลังเลสงสัย
ต่อโลกภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมะสังขารที่ปรุง
จนหลงขาดสติ


ถ้าจิตมีนิวรณ์แล้ว
แม้จะทำกายกรรมอะไร ก็โสกะปริเทวะ
แม้จะทำวตีกรรมอะไร ก็โสกะปริเทวะ
ไม่ต้องกล่าวถึง มโน เพราะ มโน เป็นทางเชื่อ วจีกรรม กายกรรม
เหมือนกับว่า มโน อยู่ปากท่อน้ำ วจีกรรมอยู่หิน กายกรรมอยู่ทราย


นิวรณ์ข้อ๑ คือ ราคะ
นิวรณ์ข้อ๒ ,๔ คือ โทสะ
นิวรณ์ข้อ๓ ,๕ คือ โมหะ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น