วันพุธที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2567

มรรค2


79-# The practice is the path, which is practiced. Know the picture Determine the sound Determine the smell Determine the taste define, know, touch If you see it, let me know. What is known outside is impermanent many times over and over again.

#

ข้อปฏิบัติคือมรรค ได้แก ฝึก

กำหนดรู้ รูป

กำหนดรู้ เสียง

กำหนดรู้ กลิ่น

กำหนดรู้ รส

กำหนดรู้ สัมผัส


เห็นให้แจ้งว่า สิ่งที่ถูกรู้ ภายนอกนั้น มันไม่เที่ยง หลายๆหน ซ้ำๆซากๆ


80-Hurry and cultivate merit to decorate your mind. It is the practice of not considering external things, including sight, sound, smell, taste, and things that affect the body. which will provoke anger in the heart which will provoke anger in the heart which will provoke greed in the heart For example, we see people acting like they're irritating. Give us a thumbs up and a thumbs up. It has the meaning of calling us a buffalo." When we saw that, we didn't mind or hold it firmly.Anger and anger cannot arise from the heart. Or we see our boyfriend holding hands with someone else. When we saw that, we didn't mind or hold it firmly. Anger and anger can't arise in the heart. (When the boyfriend comes back, he'll ask for reasons and how to deal with it.) _________ Sounds, for example, we hear people cursing us or saying something harsh to us, cursing our parents, cursing our friends, cursing our loved ones. When we heard that, we didn't mind or hold it firmly. Anger and anger cannot arise from the heart.

Smell like

Husband and wife sleep together. Wife farts.

The husband must not mind the smell.

Anger and anger cannot arise from the heart.

Or the toilet next door has a bad smell.

We don't mind the smell, we don't mind the smell.

Anger and anger cannot arise from the heart.

If you want to avoid it, walk away.

or other scents as well

Taste: For example, the food vendor makes rice that doesn't taste good at all. The bland soup tasted like boiling water.

,Bland rice is like plain rice. Or sweet and sour stir fry like the house is a sugar factory itself or other flavors.

If you eat it, you will die because you don't like the taste. Gradually find a walk to cook a new meal.

His touch, for example, he put his hand on his head. He stepped on his feet, he pushed, he punched, he walked into booths, he walked with many people. He came right to my body. or touching other bodily objects

It's the same thing.

We don't mind or believe in it.

This is training the mind to be neutral.

But if the mind is not truly neutral If there is still holding back, there will be some liking.

There was some dissatisfaction.

At this point, the Buddha probably knew that

Those who are lower than Anakami There must be a passion. and dislike arises

So there is a teaching to put in at this point.

That is when liking arises. or dislike

Once it has happened, look at the state of your preferences.

or dislike That clearly appears.

Then take the 3 characteristics

1 Anicca (it is impermanent) 2 Dukkha (it cannot bear to remain in its original condition)

3 Anatta

Go in and measure it. Or take any one of these and measure it. Let's see if it's noon.

You will see the condition. Desire arises, stays, changes and dies, and continues to exist like this.

You will see the condition. Displeasure arises, stays, changes and disappears, and continues like this. Where it arises and then gradually disappears on its own. It's not about us at all.

The Buddha who has omniscience (knows everything) understand everything about the past and future)

He said that all conditions

That's not ours. That's not us That's not our ego.

All conditions are impermanent.

We should not go in and take it as ours.

If we see various states of liking and disliking, both anger and greed, continually arising and ceasing in this way until we become bored, then we also see the state of boredom arising and ceasing.

When you see something you like.

Happens and dies very frequently.

When you see displeasure

Happens and dies very frequently.

Boredom will arise.

Let's see that boredom also falls into a trinity.

รีบบำเพ็ญบารมีประดับจิตไว้เถิด

คือการฝึกไม่ถือสาสิ่งภายนอก อันได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส สิ่งกระทบต้องกาย อันจะมายั่วยุให้เกิดความโกธรที่ใจ 

อันจะมายัวยุให้เกิดความโมโหที่ใจ 

อันจะมายัวยุให้เกิดความโลภที่ใจ 

เช่น เราเห็นคนทำท่ากวนตีน ยกนิ้วชี้และนิ้วก้อยขึ้นให้เรา มีความหมายว่าเป็นการด่าเราว่าไอ้ควาย"

ที่ได้เห็นนั้นเราก็ไม่ถือสาไม่ถือมั่น

ความโกธรความโมโหก็เกิดขึ้นที่ใจไม่ได้

หรือเราเห็นแฟนเราควงแขนไปกับคนอื่น

ที่เห็นนั้นเราก็ไม่ถือสาไม่ถือมั่น  

ความโกธรความโมโหก็เกิดขึ้นที่ใจไม่ได้ ( พอแฟนกลับมาค่อยถามหาเหตุหาผลว่าจะเอายังไง)

_________

เสียง เช่น เราได้ยินเสียงคนด่าเราหรือพูดอย่างใดอย่างหนึ่งกับเราอย่างร้ายแรง ด่าพ่อแม่ ด่าเพื่อน ด่าคนรัก

ที่ได้ยินนั้นเราก็ไม่ถือสาไม่ถือมั่น

ความโกธรความโมโหก็เกิดขึ้นที่ใจไม่ได้

หรือได้ยินเสียงพูดอันหยาบคาย ส่อเสียด ว่าให้เราหรือว่าให้คนที่เรารู้จัก

ที่ได้ยินนั้นเราก็ไม่ถือสาไม่ถือมั่น

ความโกธรความโมโหก็เกิดขึ้นที่ใจไม่ได้

_________

กลิ่น เช่น 

ผัวเมียนอนด้วยกัน เมียตด

ผัวก็ต้องไม่ถือสาไม่ถือมั่นกลิ่น

ความโกธรความโมโหก็เกิดขึ้นที่ใจไม่ได้

หรือ ข้างบ้านดูดส้วมมีกลิ่นเหม็น

เราก็ไม่ถือสากลิ่นไม่ถือมั่นกลิ่น

ความโกธรความโมโหก็เกิดขึ้นที่ใจไม่ได้

ถ้าจะเลี่ยงก็เดินหนีออกไปห่างๆ

หรือกลิ่นอื่นๆก็เช่นกัน

__________

รส เช่น แม่ค้าทำกับข้าวรสชาติไม่อร่อยเลย แกงจืดรสจืดยังกะต้มน้ำเปล่า

,ข้าวพัดจืดยังกะข้าวเปล่าๆ หรือผัดเปรี้ยวหวานหวานยังกะบ้านเป็นโรงงานผลิตน้ำตาลเอง หรือรสอื่นๆ

ถ้าทานแล้วมันจะขาดใจตายเพราะไม่ได้รสชาติที่ชอบใจ ก็ค่อยหาเดินไปปรุงอาหารใหม่

___________

โผฏฐัพพะ เช่น เขาเอามือมาลูบหัว เขาเหยียบเท้า เขาผลัก เขาต่อย เดินชนตู้ เดินเบียดเสียดกับคนมาก เขามาโดนถูกต้องกาย หรือสัมผัสสิ่งถูกต้องกายอื่นๆ

ก็ทำนองเดียวกัน

เราก็ไม่ถือสาไม่ถือมั่นมัน

นี่ก็คือการฝึกจิตใจให้เป็นกลาง

แต่ถ้าจิตยังไม่เป็นกลางจริง ยังมีความถือสาก็จะเกิดความชอบใจบ้าง 

เกิดความไม่ชอบใจบ้าง

ถึงตรงนี้พระพุทธเจ้าคงรู้เห็นแล้วว่า

ผู้ที่ต่ำกว่าอนาคามี จะต้องมีความชอบใจ และความไม่ชอบใจ เกิดขึ้น

ก็เลยมีมรรคสอนใส่ตรงจุดนี้เลย

คือเมื่อความชอบใจเกิดขึ้น หรือความไม่ชอบใจ

เกิดขึ้นแล้ว ก็ดูสภาวะความชอบใจ

หรือความไม่ชอบใจ ที่ปรากฏเด่นชัดๆนั้นแหละ

แล้วเอาไตรลักษณะ๓ 

๑อนิจจัง(มันไม่เที่ยง) ๒ทุกขัง(มันทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้)

๓อนัตตา

เข้าไปวัดมันเลย หรือเอาข้อใดข้อหนึ่งก็ได้ไปวัดมัน ดูซิมันจะเที่ยงไหม

ก็จะเห็นสภาวะ ความชอบใจเกิดขึ้น ตั้งอยู่ แปรปรวนดับไป อยู่อย่างนี่เรื่อย

ก็จะเห็นสภาวะ ความไม่ชอบใจเกิดขึ้น ตั้งอยู่ แปรปรวนดับไป อยู่อย่างนี้เรื่อย โดยที่มันก็เกิดขึ้นแล้วก็ค่อยๆแปรดับหายไปของมันเอง ไม่ได้เกี่ยวกับเราเลย

พระพุทธเจ้าผู้มีสัพพัญญูตญาณ(รู้หมดทุกสิ่งทุกอย่าง เข้าใจหมดทุกเรื่อง อดีต อนาคต)

ตรัสว่า สภาวะทั้งหลายทั้งปวง

นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่อัตตาเรา

สภาวะทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง

ไม่ควรเข้าไปถือเอาไว้ว่าเป็นของเรา

ถ้าเราเห็นสภาวะต่างๆ ทั้งชอบใจ ทั้งไม่ชอบใจ ทั้งโกธร ทั้งโลภ เกิดดับอยู่อย่างนี้เรื่อยๆ จนเบื่อหน่าย ก็ให้เห็นสภาวะเบื่อหน่ายเกิดดับด้วย

เมื่อเห็นความชอบใจ

เกิดขึ้นดับไปบ่อยๆมากๆ 

เมื่อเห็นความไม่ชอบใจ

เกิดขึ้นดับไปบ่อยๆมากๆ

ความเบื่อหน่ายก็จะเกิดขึ้นมา

ก็ให้เห็นความเบื่อหน่ายนั้นว่าตกเป็นไตรลักษณ์เหมือนกัน

80-You should embrace the Dhamma. Come practice with your mind. It is called abandoning akusala dhamma, that is, practicing Dhamma. Lust can be eliminated with Asubha. Anger can be relieved with kindness. Moha can be eliminated by yonisomanasikāra.

The thought is suffering. You may be able to let it go because you think about the merit and good deeds that you have done regularly before thinking about it. Often, you tend to think that it is an attempt to create a cause or create a cause for your mind as if it were mental health. The result is happiness and peace of mind.Thinking about sin is painful because thinking about this matter that you have often made merit in the grace of before, that is the cause, the cause of the mind to serve and decorate it to be happy and calm.

 พึงน้อมนำพระธรรม มาปฏิบัติที่จิตใจตน เรียกว่าละอกุศลธรรมนั่นเองคือการปฏิบัติธรรม


ราคะละได้ด้วยอสุภะ

โทสะละได้ด้วยเมตตา

โมหะละได้ด้วยโยนิโสมนสิการ


คิดแล้วเป็นทุกข์ พึงละได้ด้วยคิดถึงบุญกุศลความดีที่ตนเคยทำไว้ในกาลก่อน คิดบ่อยๆ เมื่อคิดบ่อยๆนั่นแหละคือการพยามใส่เหตุหรือสร้างเหตุให้จิตปรุงแต่งภาวะที่เป็นกุศล ผลคือความสุขเย็นใจ


ถ้าคิดถึงบาปมันทุกข์ ก็คิดถึงการกระทำที่ตนเคยทำบุญกุศลในคราวก่อนกาลก่อนบ่อยๆ นั้นนั่นแลคือการสร้างเหตุให้จิตปรุงแต่งให้เป็นความสุขเย็นใจ81-"Committed to creating a new life Determine to practice meditation with diligence. Be interested in the practice of walking meditation, sitting meditation, being mindful and aware of every posture. Consider that all things in the world are impermanent. Can't stand being in the same condition. It's not under anyone's power."​

"มุ่งมั่นต่อการสร้างชีวิตใหม่ ตั้งใจบำเพ็ญภาวนาด้วยความขยันหมั่นเพียร สนใจในการปฏิบัติ เดินจงกรม นั่งสมาธิ มีสติกำหนดรู้อยู่ทุกอิริยาบถ พิจารณาเห็นสรรพสิ่งทั้งหลายในโลกเป็นของไม่เที่ยง ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ไม่อยู่ในอำนาจของใคร"

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น