วันเสาร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ในพรรษาที่ 3 ถ้า ธรรมเสื่อมเราอาจจะไปที่อื่น

ในพรรษาที่ 3 ถ้า ธรรมเสื่อม
เราอาจจะไปที่อื่น

______

กิจที่ควรทำ ก็ได้ทำเสร็จแล้ว
คือกิจละกิเลสนั้นเอง

______

การเกิดใหม่
หน้ากลัว"ธรรมของสังคม" มาก

หลวงปู่ขาว เคยเป็นภิกษุในสมัยพุทฑกาล
เคร่งมากในการอยากหลุดพ้น

แต่ตายจากนั้น

มาเกิดชาติสุดท้าย
ก็หลงไปกับธรรมของสังคม


เหล่าฤษีโพธิ์สัตว์ทั้งหลายก็เหมือนกัน
โดนการเกิดใหม่เจอธรรมของสังคม


พระปัจเจก เคยปราถนาไว้
พอเกิดใหม่เจอธรรมของสังคม
ก็พลาดทำกรรมดำ เพราะความหลง โมหะ

การเกิดใหม่ โมหะ ความลืม  น่ากลัว



###
ข้าพระเจ้าปรารภ เรื่องสุนัขเซิงกัน
พอตัวพู้มันเอา อวัยวะเข้าไปแล้ว
แล้วที่นี้มันเอาออกไม่ได้

เพราะมีคนไล่ จะไล่ฆ่ามัน
หมามันก็เลยกลัว จะวิ่งหนี
แล้วมันไม่หลุดออก
มนุษย์ชอบแสวงหาสุข ที่มีทุกข์ตามมา

#
ธรรมของสังคมน่ากลัวยิ่งนัก
ถ้าเกิดใหม่แล้ว หลงไปกับธรรมของสังคม
เขาพาเอาเมีย ยกย่องว่าการเอาเมียแต่งงานนั้นประเสริฐดี เขาพาหาแฟนก็คล้อยตามหาแฟนเหมือนเขา 
เขาพารวย มีการงานทำดีๆ ตำแหน่งใหญ่ๆ ก็คล้อยตามธรรมของเขาค่านิยมของเขา

นี่ถ้าเราไม่หนักแน่นในธรรมของพระอริยะ
เราคงอาจ ต้านทิฐิตัวบันดานให้มีการกระทำทางกายวาจาใจ ไม่ได้แน่ ถ้ายังเหมือนนุ่นถูกลมพัด ไม่สงสัยแล้วว่าโสดาบันนั้นศรัทธาในพระพุธ"พระธรรม" พระสงฆ์ หนักแน่นแค่ไหน ถึงกับไม่มีธรรมใดๆดึงหรือปรุงจิตให้หักเหเข๋ออกจากธรรมของพระพุทธเจ้า

พระวัดต่างๆที่จิตยังฝักใฝ่ในเรื่องการงานทางโลก เช่นอุปชา อาจเป็นไปได้ว่า
ชาติหน้าจิตใจจะไม่หนักแน่นในธรรมของพระพุทธ แต่อาจโดนธรรมของสังคมชักลากจูงไป

โอ้..ธรรมของสังคมนี่น่ากลัวนัก

ดูเถิดเทวดา ปราถนาความเป็นมนุษย์
ความได้ศรัทธา ความไม่หวันใหวในพระรัตนะตรัย ความได้ประพฤพรมจรรณ์ในศาสนาของพระอรหันตสัมมาสัมพุธเจ้า
แต่พอจุติตาย มาปฏิสนธิเป็นมนุษย์
กิเลสตัวโมหะยังไม่หมด มีการลืม
ก็โดนธรรมของสังคมที่เขาพาเป็น ก็ไหลเป็นไปเหมือนเขา จิตก็โน้มเอียงไปในแนวทางแบบที่เขาพาทำพาเป็น เขาพามีแฟน มีเมีย มีครอบครัว มีลูก มีการงานที่ได้ธาตุดินเยอะๆ เขาพากันนิยมว่า กามคุณ 5 คือตัววัดระดับในธรรมของสังคม
ก็เป็นบ้าไปตามเขาถือเขานิยม
เขาพาแต่งตัวสวยก็ต้องสวย
เขาพาแต่งตัวโป้ก็ต้องแต่งโป้
แล้วมันดีไหมแต่งอย่างนั้นแล้ว
ก็โดนมนุษย์จ้องจะฆ่าข่มขืน ฉีดน้ำกามใส่
แล้วยุคนี้ยิ่งเป็นยุคที่ กามเพศ มันรุ่นแรง ไม่เลือกหน้าเลือกตา ขอให้กูสำเร๋จความใคร่ได้ก็พอวะ เรื่องอย่างอื่นเอาไว้ที่หลัง
ยุคนี้มิจฉาทิฐิกำลังเจริญ อกุศลกรรมบทสิบกำลังเจริญ

เขาพามีมอเตอรไชรแต่งก็ต้องแต่ง
เขาพามีบ้านสวยใหญ่ ดูมีหน้ามีตาในระดับสังคม ก็พากันไปกู้หนียืมสินมาสร้าง ทั้งๆที่ทุกข์จะทนเหลือเกิน
เขาพาเซิงก็ต้องหาเซิง นี้มันคือธรรมของสังคม
ธรรมของพระพุทธเจ้านั้นมีแต่ธรรมที่
พา,ชวน, ให้ออกจาก เซิง ออกจากกาม
ออกจากการติดเกี่ยวพันธ์ในโลก
ในศาสตร์ทั้งหลายในโลก มีแต่ศาสตร์ยังพาให้ติดอยู่โลก ยังให้ติดอยู่แค่ในสวรรค์ ในพรหม ไม่มีศาสตร์ใดๆที่ไหน เหมือนในศาสนา คือศาสตร์หนึ่งเดียวที่จะพาหลุดจากอาสวะ

และแน่นอนศาสตร์หนึ่งเดียวแบบนี้ ย่อมเหมือน สิ่งหรือวัตถุตกลงไปในน้ำ น้ำย่อมครอบงำรอยบุ๋มน้ำนั้นได้เร็วฉับพลัน
หรือเหมือนในรอยเท้าที่เหยียบในทะเลทราย ที่มีลมจากทุกทิศพัดกันไปพัดกันมา
ย่อมพัดทรายเหล่านั้นกลบรอยเท้าได้ฉันใด
ศาสนาของพระอรหันตสัมมาสัมพุทธก็ฉันนั้น ถูกศาสตร์อื่นโยมตีทิ้มแทง ทำลาย

(วิธีสู้โต้ตอบมี แต่ไม่เรียน มันก็ไม่ได้ประโยชน์จากวิธีที่ท่านสอนนั้น)

พระก็โดนธรรมของสังคมลากจูงจิตไป
ธรรมของสังคม เสียป้าใส่จะต้องดีอย่างนู้นอย่างนี้ จะต้องหอม จะต้องดูเรียบ

จีวรก็จะต้องหอม ผ้าก็จะต้องดีสุดๆ ผ้าเก่าไม่ ไม่ครอง เพราะดูไม่สวย มันหยาบ  อย่างนี้ต้องเอาตัวอย่างพระมหากัสปะ
นี้คือขั้นสุดยอด ผู้ไกลกามคุณ๕

เขาพามีรถก็ต้องมีรถ

ลาภสักการะ สรรเสิญเยินยอ ยศ อย่าได้มาเกี่ยวข้องกับเรา นี้คือพระพุทธเจ้าเรา


#ถ้าชาตินี้หลักจิตไม่แหน่น
การเกิดใหม่จะถูกธรรมของสังคมปั่นหัว
ปั่นเหมือนลูกค่างเลย

ธรรมของสังคมคือชวนให้ติดในกามคุณ๕

________
มณิจูฬกสูตร
[๖๒๓] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน
ใกล้พระนครราชคฤห์ ก็สมัยนั้นแล เมื่อราชบริษัทนั่งประชุมกันในพระราชวังสังสนทนากันว่า
ทองและเงินย่อมควรแก่สมณศากยบุตร สมณศากยบุตรย่อมยินดีทองและเงิน ย่อมรับทองและ
เงิน ฯ
[๖๒๔] ก็สมัยนั้นแล นายบ้านนามว่ามณิจูฬกะนั่งอยู่ในบริษัทนั้น ครั้งนั้น นายบ้านนามว่า
มณิจูฬกะได้กล่าวกะบริษัทนั้นว่า ท่านผู้เจริญอย่าได้กล่าวอย่างนี้ ทองและเงินไม่ควรแก่สมณ
ศากยบุตร สมณศากยบุตรย่อมไม่ยินดีทองและเงิน ย่อมไม่รับทองและเงิน สมณศากยบุตรห้าม
แก้วและทอง ปราศจากทองและเงิน นายบ้านมณิจูฬกะไม่อาจให้บริษัทนั้นยินยอมได้ ฯ
[๖๒๕] ครั้งนั้น  นายบ้านจูฬกะจึงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับถวายบังคม
พระผู้มีพระภาคแล้ว นั่งอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า ข้า
แต่พระองค์ผู้เจริญ เมื่อราชบริษัทนั่งประชุมกันในพระราชวังสังสนทนากันว่า ทองและเงินย่อม
ควรแก่สมณศากยบุตร สมณศากยบุตรย่อมยินดีทองและเงิน เมื่อราชบริษัทกล่าวอย่างนี้ ข้า
พระองค์ได้กล่าวกะบริษัทนั้นว่า ท่านผู้เจริญอย่าได้กล่าวอย่างนี้ ทองและเงินย่อมไม่ควรแก่สมณ
ศากยบุตรสมณศากยบุตรย่อมไม่ยินดีทองและเงิน ย่อมไม่รับทองและเงิน สมณศากยบุตร
ห้ามแก้วและทอง ปราศจากทองและเงิน ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ไม่อาจให้บริษัทนั้น
ยินยอมได้ เมื่อข้าพระองค์พยากรณ์อย่างนี้ เป็นอันกล่าวตามคำที่พระผู้มีพระภาคตรัสแล้ว จะไม่
กล่าวตู่พระผู้มีพระภาคด้วยคำไม่จริง และพยากรณ์ธรรมสมควรแก่ธรรม ทั้งการคล้อยตามวาทะ
ที่ถูกไรๆ จะไม่ถึงฐานะอันวิญญูชนพึงติเตียนได้แลหรือ พระเจ้าข้า ฯ
[๖๒๖] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดีละ นายคามณี เมื่อท่านพยากรณ์อย่างนี้ เป็นอัน
กล่าวตามคำที่เรากล่าวแล้ว ไม่กล่าวตู่เราด้วยคำไม่จริง และพยากรณ์ธรรมสมควรแก่ธรรม ทั้ง
การคล้อยตามวาทะที่ถูกไรๆ จะไม่ถึงฐานะอันวิญญูชนพึงติเตียนได้ เพราะว่าทองและ
แก่สมณศากยบุตร สมณศากยบุตรย่อมไม่ยินดีทองและเงิน สมณศากยบุตรห้ามแก้วและทอง
ปราศจากทองและเงิน ดูกรนายคามณี ทองและเงินควรแก่ผู้ใด เบญจกามคุณก็ควรแก่ผู้นั้น
เบญจกามคุณควรแก่ผู้ใด ทองและเงินก็ควรแก่ผู้นั้น ดูกรนายคามณี ท่านพึงทรงความที่ควรแก่
เบญจกามคุณนั้นโดยส่วนเดียวว่า ไม่ใช่ธรรมของสมณะ ไม่ใช่ธรรมของศากยบุตร อนึ่งเล่า
เรากล่าวอย่างนี้ว่า ผู้ต้องการหญ้าพึงแสวงหาหญ้าผู้ต้องการไม้พึงแสวงหาไม้ ผู้ต้องการเกวียน
พึงแสวงหาเกวียน ผู้ต้องการบุรุษพึง แสวงหาบุรุษ เรามิได้กล่าวว่า สมณศากยบุตรพึงยินดี พึง
แสวงหาทองและเงินโดยปริยายอะไรเลย ฯ
จบสูตรที่ ๑๐
คันธภกสูตร
[๖๒๗] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ อุรุเวลกัปปะ นิคมของมัลลกษัตริย์
ในมัลลรัฐ ครั้งนั้นแล นายบ้านนามว่า คันธภกะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวาย
บังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นั่งอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญข้าพระองค์ขอประทานพระวโรกาส ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงแสดง
เหตุเกิดและเหตุดับแห่งทุกข์แก่ข้าพระองค์เถิด พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรนายคามณี  ก็เราพึง
ปรารภอดีตกาลแสดงเหตุเกิดและเหตุดับแห่งทุกข์แก่ท่านว่า ในอดีตกาลได้มีแล้วอย่างนี้ ความ
สงสัย ความเคลือบแคลงในข้อนั้นจะพึงมีแก่ท่าน ถ้าเราปรารภอนาคตกาลแสดงเหตุเกิดและ
เหตุดับแห่งทุกข์แก่ท่านว่า ในอนาคตกาลจักมีอย่างนี้ แม้ในข้อนั้น ความสงสัย ความ
เคลือบแคลง จะพึงมีแก่ท่านอนึ่งเล่า เรานั่งอยู่ ณ ที่นี้แหละ จักแสดงเหตุเกิดและเหตุดับ
แห่งทุกข์แก่ท่านซึ่งนั่งอยู่ที่นี่เหมือนกัน ท่านจงฟังคำนั้น จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว นาย
คันธภกคามณีทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระดำรัสนี้ว่า ดูกร ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน ความโศก ความร่ำไร ความทุกข์  โทมนัสและอุปายาส พึง
เกิดขึ้นแก่ท่าน เพราะหมู่มนุษย์ในอุรุเวลกัปปนิคมตายถูกจองจำ เสื่อมทรัพย์ หรือถูกติเตียน
มีแก่ท่านหรือ ฯ
คา. มีอยู่ พระเจ้าข้า ที่ความโศก ความร่ำไร ความทุกข์โทมนัสและอุปายาส พึง
เกิดมีแก่ข้าพระองค์ เพราะหมู่มนุษย์ในอุรุเวลกัปปนิคมตาย ถูกจองจำ เสื่อมทรัพย์หรือถูก
ติเตียน ฯ
พ. ดูกรนายคามณี ก็ความโศก ความร่ำไร ความทุกข์ โทมนัสและอุปายาส ไม่
พึงเกิดขึ้นแก่ท่าน เพราะหมู่มนุษย์ในอุรุเวลกัปปนิคมตาย ถูกจองจำเสื่อมทรัพย์หรือถูก
ติเตียน มีอยู่แก่ท่านหรือ ฯ
คา. มีอยู่ พระเจ้าข้า ที่ความโศก ความร่ำไร ความทุกข์ โทมนัสและอุปายาส
ไม่พึงเกิดมีแก่ข้าพระองค์ เพราะหมู่มนุษย์ ในอุรุเวลกัปปนิคมตายถูกจองจำ เสื่อม
ทรัพย์หรือถูกติเตียน ฯ
พ. ดูกรนายคามณี อะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัยเครื่องให้ความโศก ความร่ำไร ความทุกข์
โทมนัสและอุปายาส พึงเกิดขึ้นแก่ท่าน เพราะหมู่มนุษย์ชาวอุรุเวลกัปปนิคมบางพวกตาย ถูก
จองจำ เสื่อมทรัพย์หรือถูกติเตียน ก็หรือว่าอะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัยเครื่องให้ความโศก ความ
ร่ำไร ความทุกข์โทมนัสและอุปายาส ไม่พึงเกิดมีขึ้นแก่ท่าน เพราะหมู่มนุษย์ชาวอุรุเวลกัปป
นิคมบางพวกตายถูกจองจำ เสื่อมทรัพย์หรือถูกติเตียน ฯ
คา. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ความโศก ความร่ำไร ความทุกข์โทมนัสและอุปายาส
พึงเกิดขึ้นแก่ข้าพระองค์ เพราะหมู่มนุษย์ชาวอุรุเวลกัปปนิคมเหล่าใดตาย ถูกจองจำ เสื่อม
ทรัพย์หรือเพราะถูกติเตียน ก็เพราะข้าพระองค์ มีฉันทราคะ ในหมู่มนุษย์ชาวอุรุเวลกัปปนิคม
เหล่านั้น ส่วนความโศก ความร่ำไรความทุกข์โทมนัสและอุปายาส ไม่พึงเกิดขึ้นแก่ข้าพระองค์
เพราะหมู่มนุษย์ชาวอุรุเวลกัปปนิคมเหล่าใดตาย ถูกจองจำ เสื่อมทรัพย์หรือถูกติเตียน ก็เพราะ
ข้าพระองค์ไม่มีฉันทราคะในหมู่มนุษย์ชาวอุรุเวลกัปปนิคมเหล่านั้น พระเจ้าข้า ฯ
พ. ดูกรนายคามณี ท่านจงนำไปซึ่งทุกข์อันใดด้วยธรรมที่เห็นแล้วทราบแล้ว บรรลุ
แล้วโดยไม่ประกอบด้วยกาล หยั่งลงแล้ว ทั้งอดีตและอนาคตทุกข์เป็นอดีตกาลอย่าง เมื่อเกิด ย่อมเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งหมดนั้นมีฉันทะเป็นมูล มีฉันทะเป็นเหตุ เพราะฉันทะเป็นมูล
แห่งทุกข์ ทุกข์เป็นอนาคตกาลอย่างใดอย่างหนึ่งเมื่อเกิด จักเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งหมดนั้นมีฉันทะ
เป็นมูล มีฉันทะเป็นเหตุ เพราะฉันทะเป็นมูลแห่งทุกข์ ฯ
คา. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ น่าอัศจรรย์ ไม่เคยมีมาแล้ว พระดำรัสนี้ว่าทุกข์เป็นอดีต
กาลอย่างใดอย่างหนึ่งเมื่อเกิด ย่อมเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งหมดนั้นมีฉันทะเป็นมูล มีฉันทะเป็นเหตุ
เพราะฉันทะเป็นมูลแห่งทุกข์ ทุกข์เป็นอนาคตกาลอย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อเกิด จักเกิดขึ้น ทุกข์
ทั้งหมดนั้นมีฉันทะเป็นมูล มีฉันทะเป็นเหตุ เพราะฉันทะเป็นมูลแห่งทุกข์ ดังนี้ พระผู้มีพระ
ภาคตรัสดีแล้ว ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ กุมารนามว่าจิรวาสีบุตรของข้าพระองค์มีอยู่ เขาอาศัยอยู่
ภายนอกนคร ข้าพระองค์ลุกขึ้นแต่เช้าตรู่ ส่งบุรุษไปด้วย สั่งว่า แน่ะนาย เจ้าจงไป จงทราบ
กุมารจิวาสี ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บุรุษนั้นยังไม่มาเพียงใด ความกระวนกระวายใจย่อมมีแก่
ข้าพระองค์ว่า อะไรๆ อย่าเบียดเบียนจิรวาสีกุมารเลย ดังนี้เพียงนั้นๆ
[๖๒๘] พ. ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน ความโศก ความร่ำไร  ความทุกข์
โทมนัสและอุปายาส พึงเกิดขึ้นแก่ท่าน เพราะจิรวาสีกุมารตาย ถูกจองจำ เสื่อมทรัพย์หรือถูก
ติเตียนหรือ ฯ
คา. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ แม้เมื่อจิรวาสีกุมารยังมีชีวิตอยู่ ข้าพระองค์ยังมีความกระ
วนกระวายใจ ไฉนความโศก ความร่ำไร ความทุกข์โทมนัสและอุปายาส จักไม่เกิดขึ้นแก่ข้า
พระองค์ เพราะจิรวาสีกุมารตาย ถูกจองจำ เสื่อมทรัพย์หรือถูกติเตียนเล่า พระเจ้าข้า ฯ
พ. ดูกรนายคามณี ข้อนั้นพึงทราบโดยปริยายนี้ว่า ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งเมื่อเกิด
ย่อมเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งหมดนั้นมีฉันทะเป็นมูล มีฉันทะเป็นเหตุเพราะฉันทะเป็นมูลแห่งทุกข์ ดูกร
นายคามณี  ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉนเมื่อใด ท่านไม่ได้เห็นมารดาของจิรวาสีกุมาร ไม่
ได้ฟังเสียง เมื่อนั้น ท่านมีความพอใจ ความกำหนัดหรือความรักในมารดาของจิรวาสีกุมาร
หรือ ฯ
พ. เพราะอาศัยการเห็นหรือการฟัง ท่านจึงมีความพอใจ ความกำหนัดหรือความรัก
ในมารดาของจิรวาสีกุมารหรือ ฯ
คา. อย่างนั้น พระเจ้าข้า ฯ
พ. ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน ความโศก ความร่ำไร ความทุกข์ โทมนัส
และอุปายาส พึงเกิดขึ้นแก่ท่าน เพราะมารดาของจิรวาสีกุมารตายถูกจำจอง เสื่อมทรัพย์หรือ
ถูกติเตียนหรือ ฯ
คา. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ แม้เมื่อมารดาของจิรวาสีกุมารมีชีวิตอยู่ข้าพระองค์พึงมีความ
กระวนกระวายใจ ไฉนความโศก ความร่ำไร  ความทุกข์โทมนัสและอุปายาส จักไม่เกิดขึ้นแก่
ข้าพระองค์ เพราะมารดาของจิรวาสีกุมารตาย ถูกจองจำ  เสื่อมทรัพย์หรือถูกติเตียนเล่า พระ
เจ้าข้า ฯ
พ. ดูกรนายคามณี ท่านพึงทราบความข้อนั้นโดยปริยายนี้ว่า ทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่ง
เมื่อเกิด ย่อมเกิดขึ้น ทุกข์ทั้งหมดนั้นมีฉันทะเป็นมูล มีฉันทะเป็นเหตุ เพราะฉันทะเป็นมูล
เหตุแห่งทุกข์

#     [๖] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
    เมื่อสัตว์นั้นปรารถนากามอยู่ เมื่อสัตว์มีฉันทะเกิดแล้ว ถ้ากามเหล่านั้น
    เสื่อมไป สัตว์นั้นย่อมกระสับกระส่าย เหมือนสัตว์ที่ถูกลูกศรแทง เข้าแล้ว.

     [๘] อรรถกถาอธิบายว่า คำว่า เมื่อสัตว์มีฉันทะเกิดแล้ว ความว่า คำว่า ฉันทะ ได้แก่ ความพอใจในกาม
ความกำหนัดในกาม ความเพลินในกาม ความอยากในกาม ความเสน่หาในกาม ความเร่าร้อน
ในกาม ความหลงในกาม ความติดใจในกาม ห้วงคือกาม ความประกอบคือกาม ความยึดถือ
ในกาม เครื่องกั้นกางคือกามฉันทะ ความพอใจในกามนั้น เกิดแล้ว เกิดพร้อม เกิดขึ้น
เกิดเฉพาะ ปรากฏแล้วแก่สัตว์นั้น.

#     [๑๑] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
          ผู้ใด ย่อมเว้นขาดกามทั้งหลาย เหมือนบุคคลเว้นขาดหัวงูด้วยเท้า ผู้นั้น
          เป็นผู้มีสติ ย่อมล่วงพ้นตัณหาอันชื่อว่า วิสัตติกานี้ ในโลกเสียได้.
              ว่าด้วยการเว้นขาดกามด้วยเหตุ ๒ ประการ

#๑ ย่อมเว้นขาดกามโดยการข่มไว้อย่างไร? บุคคลผู้เห็นอยู่ว่า กามทั้งหลายเปรียบด้วยโครง
กระดูก เพราะอรรถว่าเป็นของมีความยินดีน้อย ย่อมเว้นขาดกามโดยการข่มไว้ ผู้เห็นอยู่ว่า
กามทั้งหลายเปรียบด้วยชิ้นเนื้อ เพราะ อรรถว่าเป็นของสาธารณ์แก่ชนหมู่มาก การข่มไว้ ผู้เห็นอยู่ว่า กามทั้งหลายเปรียบด้วยคบเพลิง เพราะอรรถว่าเป็นของตามเผา ย่อมเว้น
ขาดกามโดยการข่มไว้ ผู้เห็นอยู่ว่า กามทั้งหลายเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง เพราะอรรถว่าเป็น
ของให้เร่าร้อนมาก ย่อมเว้นขาดกามโดยการข่มไว้ ผู้เห็นอยู่ว่า กามทั้งหลายเปรียบด้วยความฝัน
เพราะอรรถว่าเป็นของปรากฏชั่วเวลาน้อย ย่อมเว้นขาดกามโดยการข่มไว้ ผู้เห็นอยู่ว่ากามทั้งหลาย
เปรียบด้วยของขอยืม เพราะอรรถว่า เป็นของเป็นไปชั่วกาลที่กำหนด ย่อมเว้นขาดกาม
โดยการข่มไว้ ผู้เห็นอยู่ว่า กามทั้งหลายเปรียบด้วยต้นไม้มีผลดก เพราะอรรถว่าเป็นของให้กิ่ง
หักและให้ต้นล้ม ย่อมเว้นขาดกามโดยการข่มไว้ ผู้เห็นอยู่ว่า กามทั้งหลายเปรียบด้วยดาบและ
มีด เพราะอรรถว่าเป็นของฟัน ย่อมเว้นขาดกามโดยการข่มไว้ ผู้เห็นอยู่ว่า กามทั้งหลายเปรียบ
ด้วยหอกหลาว เพราะอรรถว่าเป็นของทิ่มแทง ย่อมเว้นขาดกามโดยการข่มไว้ ผู้เห็นอยู่ว่า
กามทั้งหลายเปรียบด้วยหัวงู เพราะอรรถว่าเป็นของน่าสะพึงกลัว ย่อมเว้นขาดกามโดยการข่มไว้
ผู้เห็นอยู่ว่า กามทั้งหลายเปรียบด้วยกองไฟ เพราะอรรถว่าเป็นดังไฟกองใหญ่ให้เร่าร้อน ย่อม
เว้นขาดกามโดยการข่มไว้ แม้ผู้เจริญพุทธานุสสติ ย่อมเว้นขาดกามโดยการข่มไว้ แม้ผู้เจริญ
ธัมมานุสสติ ย่อมเว้นขาดกามโดยการข่มไว้ แม้ผู้เจริญสังฆานุสสติ ...  แม้ผู้เจริญสีลานุสสติ ...
แม้ผู้เจริญจาคานุสสติ ... แม้ผู้เจริญเทวตานุสสติ ... แม้ผู้เจริญอานาปานัสสติ ... แม้ผู้เจริญ
มรณานุสสติ ... แม้ผู้เจริญกายคตาสติ ... แม้ผู้เจริญอุปสมานุสสติ ... แม้ผู้เจริญปฐมฌาน ... แม้ผู้
เจริญทุติยฌาน ...  แม้ผู้เจริญตติยฌาน ... แม้ผู้เจริญจตุตถฌาน ... แม้ผู้เจริญอากาสานัญจายตน
สมาบัติ ... แม้ผู้เจริญวิญญาณัญจายตนสมาบัติ ... แม้ผู้เจริญอากิญจัญญายตนสมาบัติ ... แม้ผู้
เจริญเนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ ย่อมเว้นขาดกามโดยการข่มไว้. ย่อมเว้นขาดกามโดย
การข่มไว้อย่างนี้.

#๒     ย่อมเว้นขาดกามโดยการตัดขาดอย่างไร? แม้บุคคลผู้เจริญโสดาปัตติมรรค ย่อมเว้น
ขาดกามอันให้ไปสู่อบายโดยการตัดขาด แม้บุคคลผู้เจริญสกทาคามิมรรค ย่อมเว้นขาดกามส่วน
หยาบโดยการตัดขาด แม้บุคคลผู้เจริญอนาคามิมรรค  ย่อมเว้นขาดกามอันเป็นส่วนละเอียดโดย
การตัดขาด แม้บุคคลผู้เจริญอรหัตมรรค ย่อมเว้นขาดกามโดยอาการทั้งปวง โดยประการทั้งปวง
หมดสิ้น มิได้มีส่วนเหลือ โดยการตัดขาด. ย่อมเว้นขาดกามโดยการตัดขาดอย่างนี้ 

#     [๑๔] คำว่า ผู้นั้น เป็นผู้มีสติ ย่อมล่วงพ้นตัณหาอันชื่อว่า วิสัตติกานี้ ในโลกเสียได้ มี
ความว่า คำว่า ผู้นั้น คือ ผู้เว้นขาดกามทั้งหลาย. ตัณหาเรียกว่า วิสัตติกา ได้แก่ ความกำหนัด
ความกำหนัดกล้า ความพอใจ ความชอบใจ ความเพลิดเพลิน ความกำหนัดด้วยสามารถแห่ง
ความเพลิดเพลิน ความกำหนัดกล้าแห่งจิต ความปรารถนา ความหลง ความติดใจ ความยินดี
ความยินดีทั่วไป ความข้อง ความติดพัน ความแสวงหา ความลวง ความให้สัตว์เกิด ความ
ให้สัตว์เกี่ยวกับทุกข์ ความเย็บไว้ ความเป็นดังว่าข่าย ความเป็นดังว่ากระแสน้ำ ความซ่านไป
ในอารมณ์ต่างๆ ความเป็นดังว่าเส้นด้าย ความกระจายไป ความให้อายุเสื่อมไป ความเป็น
เพื่อน ความตั้งมั่น เครื่องนำไปสู่ภพ ความติดอารมณ์ ความตั้งอยู่ในอารมณ์ ความสนิท
ความรัก ความเพ่งเล็ง ความผูกพัน ความหวัง ความจำนง ความประสงค์ ความหวังในรูป
ความหวังในเสียง ความหวังในกลิ่น ความหวังในรส ความหวังในโผฏฐัพพะ ความหวังใน
ลาภ ความหวังในทรัพย์ ความหวังในบุตร ความหวังในชีวิต ความปรารถนา ความให้สัตว์
ปรารถนา ความที่จิตปรารถนา ความเหนี่ยวรั้ง ความให้สัตว์เหนี่ยวรั้ง ความที่จิตเหนี่ยวรั้ง
ความหวั่นไหว อาการแห่งความหวั่นไหว ความพรั่งพร้อมด้วยความหวั่นไหว ความกำเริบ
ความใคร่ดี ความกำหนัดในที่ผิดธรรม ความโลภไม่เสมอ ความใคร่ อาการ ความมุ่งหมาย ความปอง ความปรารถนาดี กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา ตัณหาในรูปภพ
ตัณหาในอรูปภพ ตัณหาในนิโรธ รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพ
ตัณหา ธัมมตัณหา โอฆะ โยคะ คันถะ อุปาทาน ความกั้น ความปิด ความบัง ความผูก
ความเข้าไปเศร้าหมอง ความนอนเนื่อง ความกลุ้มรุมจิต ความเป็นดังว่าเถาวัลย์ ความปรารถนา
วัตถุต่างๆ รากเง่าแห่งทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ แดนเกิดแห่งทุกข์ บ่วงมาร เบ็ดมาร วิสัยมาร
แม่น้ำตัณหา ข่ายตัณหา โซ่ตัณหา สมุทรตัณหา อภิชฌา โลภะ อกุศลมูล เรียกว่า วิสัตติกา.


    # คำว่า ในโลก คือ อบายโลก มนุษยโลก เทวโลก ขันธโลก ธาตุโลก 

     คำว่า เป็นผู้มีสติ ได้แก่เป็นผู้มีสติโดยเหตุ ๔ อย่าง คือ เมื่อเจริญกายานุปัสสนา
สติปัฏฐานในกาย ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เมื่อเจริญเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานในเวทนาทั้งหลาย
ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เมื่อเจริญจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานในจิต ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เมื่อเจริญ
ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐานในธรรมทั้งหลาย ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ. เป็นผู้มีสติโดยเหตุ ๔
อย่างแม้อื่นอีก คือ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะเว้นจากความเป็นผู้ไม่มีสติ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะ
เป็นผู้กระทำธรรมทั้งหลายที่ควรทำด้วยสติ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะเป็นผู ข้าศึกต่อสติ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะเป็นผู้ไม่หลงลืมธรรมทั้งหลายที่เป็นนิมิตแห่งสติ. เป็น
ผู้มีสติโดยเหตุ ๔ อย่างแม้อื่นอีก คือ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะเป็นผู้ประกอบด้วยสติ ชื่อว่า
เป็นผู้มีสติ เพราะเป็นผู้อยู่ด้วยสติ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะเป็นผู้คล่องแคล่วด้วยสติ ชื่อว่า
เป็นผู้มีสติ เพราะเป็นผู้ไม่หวนกลับจากสติ. เป็นผู้มีสติโดยเหตุ ๔ อย่างแม้อื่นอีก คือ ชื่อว่า
เป็นผู้มีสติ เพราะเป็นผู้ระลึกได้ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะเป็นผู้สงบ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะเป็น
ผู้ระงับ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะเป็นผู้ประกอบด้วยธรรมของสัตบุรุษ. ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะ
พุทธานุสสติ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะธรรมานุสสติ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะสังฆานุสสติ ชื่อว่า
เป็นผู้มีสติ เพราะสีลานุสสติ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะจาคานุสสติ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะ
เทวตานุสสติ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะอานาปานัสสติ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะมรณานุสสติ
ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะกายคตาสติ ชื่อว่าเป็นผู้มีสติ เพราะอุปสมานุสสติ. ความระลึก ความ
ระลึกถึง ความระลึกเฉพาะ ความระลึก กิริยาที่ระลึก ความทรงจำ ความไม่เลื่อนลอย ความ
ไม่หลงลืม สติ สตินทรีย์ สติพละ สัมมาสติ สติสัมโพชฌงค์ เอกายนมรรค ธรรมนี้ เรียก
ว่า สติ. บุคคลเป็นผู้เข้าใกล้ เข้าชิด เข้าถึง เข้าถึงพร้อม เข้าไปถึง เข้าไปถึงพร้อม ประกอบ
ด้วยสตินี้ บุคคลนั้นเรียกว่า มีสติ.
     คำว่า ผู้นั้นเป็นผู้มีสติ ย่อมล่วงพ้นตัณหาอันชื่อว่า วิสัตติกานี้ ในโลกเสียได้ มีความว่า
เป็นผู้มีสติ ย่อมข้าม ข้ามขึ้น ข้ามพ้น ก้าวล่วง ล่วงเลย ตัณหาชื่อว่า วิสัตติกานี้ ในโลก เพราะ
ฉะนั้น จึงชื่อว่า ผู้นั้นเป็นผู้มีสติ ย่อมล่วงพ้นตัณหาอันชื่อว่า วิสัตติกานี้ ในโลกเสียได้ เพราะ
เหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า
          ผู้ใด ย่อมเว้นขาดกามทั้งหลาย เหมือนบุคคลเว้นขาดหัวงูด้วยเท้า ผู้นั้น
          เป็นผู้มีสติ ย่อมล่วงพ้นตัณหาอันชื่อว่า วิสัตติกานี้ ในโลกเสียได้.
     [๑๕] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
          นรชนใด ย่อมปรารถนาไร่นา ที่ดิน เงิน โค ม้า ทาส คนภายใน
          สตรี พวกพ้อง กามเป็นอันมาก
__________
กายใจนี้ เปรียบเสมือน เรือนพักคนเดินทาง มีคนต่างกันหลายคนเดินทางมา เปรียบเหมือน สุข ทุกข ไม่สุขไม่ทุกข์ เดินทางมา แล้วจากไป
__________
[๓๓๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าว่าพระราชา มหาอำมาตย์ แห่งพระราชามิตร อำมาตย์
ญาติ หรือสาโลหิต พึงปวารณาภิกษุนั้นผู้ประพฤติอย่างนี้ อยู่อย่างนี้ เพื่อให้ยินดียิ่ง ด้วย
โภคะทั้งหลายว่า ท่านจงมาเถิดบุรุษผู้เจริญ ผ้ากาสาวะเหล่านี้ยังความเร่าร้อนให้เกิดขึ้นแก่ท่าน
มิใช่หรือ ท่านจะเป็นคนโล้นเที่ยวถือกระเบื้องอยู่ทำไม ท่านจงสึกมาบริโภคและจงทำบุญเถิด
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุนั้นประพฤติอย่างนี้ อยู่อย่างนี้ จักบอกคืนสิกขาสึกมาเป็นคฤหัสถ์
ข้อนั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม่น้ำคงคาไหลไป หลั่งไป เทไปในทิศปราจีน
ถ้าว่ามหาชนพึงเอาจอบและตะกร้ามาด้วยคิดว่า พวกเราจักช่วยกันทำแม่น้ำคงคานี้ให้ไหลไป
หลั่งไป เทไปข้างหลัง เธอทั้งหลายจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉนหมู่มหาชนนั้นพึงกระทำ
แม่น้ำคงคานี้ให้ไหลไป หลั่งไป เทไปข้างหลังได้บ้างหรือหนอแล ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า
หามิได้ พระเจ้าข้า ฯ
พ. ข้อนั้นเป็นเพราะเหตุไร ฯ
ภิ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เพราะแม่น้ำคงคาไหลไป หลั่งไป เทไปใน  ทิศปราจีน
แม่น้ำคงคานั้นอันบุคคลจะทำให้ไหลไป หลั่งไป เทไปข้างหลัง ไม่ใช่กระทำได้ง่าย ก็หมู่มหาชน
นั้นพึงเป็นผู้มีส่วนแห่งความลำบาก ความคับแค้นเพียงไรแม้ฉันใด ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าว่า
พระราชา มหาอำมาตย์แห่งพระราชา มิตรอำมาตย์ ญาติหรือสาโลหิต พึงปวารณาภิกษุนั้นผู้
ประพฤติอย่างนี้ อยู่อย่างนี้เพื่อจะให้ยินดียิ่งด้วยโภคะทั้งหลายว่า ท่านจงมาเถิดบุรุษผู้เจริญ
ผ้ากาสาวะเหล่านี้ยังความเร่าร้อนให้เกิดขึ้นแก่ท่านมิใช่หรือ ท่านจะเป็นคนโล้นเที่ยวถือ
กระเบื้องอยู่ทำไม ท่านจงสึกมาบริโภคโภคะและจงทำบุญเถิด ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุนั้น
ประพฤติอย่างนี้ อยู่อย่างนี้ จักบอกคืนสิกขาสึกออกมาเป็นคฤหัสถ์ ข้อนั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้
ฉันนั้นเหมือนกันแล ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะว่าจิตของเธอ น้อมไป เอนไป เงื้อมไปใน
วิเวกสิ้นกาลนาน ก็จิตนั้นจักเวียนมาเพื่อเป็นคฤหัสถ์ข้อนั้นไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ ฯ
__________
การบริกรรมพุทโธๆๆๆๆ ในใจ ตามสายวัดป่าสอน. คือมาจากสูตรนี้ 
[๓๒๑] ภิกษุผู้มีใจตั้งมั่นในมโนวิตก อันตัณหามานะและทิฐิไม่อิงอาศัย
ไม่เบียดเบียนผู้อื่นดับกิเลสได้แล้ว ไม่ติเตียนผู้ใดผู้หนึ่ง เหมือนเต่าหดคอและ
ขาอยู่ในกระดองของตนฉันนั้น
____________
หลัก ร้อยสามสิบสาม

ความจนไม่ใช่กรรมพันธุ์
ความขยันเท่านั้นถึงจะรวย
___________
378 หน้านะ พุทธรรม
_______
เวลาคนอื่นที่เขาโกธร
"แม้แต่เวทนาของเขาก็ยังไม่เที่ยง"
ไฉน..ความโกธรจะเที่ยงได้เล่า
แม่้แต่ เวทนาคือความโกธร ก็ยังไม่ใช่ของเขาเลย เป็นสังขารปรุ่งแต่ง มีเหตุมีปัจจัยทั้งสิ้น อวิชชา


เพราะถือมั่นทุกข์ เพราะยึดมั่นทุกข์จึง
________
๑.จักขุ ธาตุภาพ,ธาตุรูป,ธาตุเห็น เกิดผัสสะ เกิดเวทนา๓ เกิดสัญญา
๒.โสตะ ธาตุเสียง เกิดผัสสะ เกิดเวทนา๓ เกิดสัญญา
๓.ฆานะ ธาตุกลิ่น เกิดผัสสั เกิดเวทนา๓ เกิดสัญญา
๔.ชิวหา ธาตุรส เกิดผัสสะ เกิดเวทนา๓ เกิดสัญญา
๕.กายยะ ธาตุโผสฐัพพะ เกิดผัสสะ เกิดเวทนา๓ เกิดสัญญา
๖.มโน ธาตุธรรมารมณ์
๖.๑ อารมณ์ส่วนที่ปรุงคิดไปอตีด(อตีตา) ก็คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผสฐัพพะ (ธรรมารมณ์ มีเวทนา,มีสัญญา,มีสังขาร)
๖.๒ อารมณ์ส่วนที่ปรุงคิดไปอนาคต(อนาคตัง)ก็คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผสฐัพพะ (ธรรมารมณ์)

อายตนะธาตุภายนอก คือภพ คือสิ่งที่ถูกรู้ สำหรับผู้มีสติ
รูป เสียง กลิ่น รส โผสฐัพพะ ธรรมารมณ

์อายตนะธาตุภายใน มีทั้งรูปและนาม ลูกตา ใบหู จมูก ลิ้น ร่างกาย คือรูปธาตุ วิญญาณหรือเรียกอีกแบบว่า มโน(ใจ) คือนาม
_________
เมื่อมีการยึดมั่นถือมั่น ในอารมณ์แล้ว
เราจะคลายออก แล้วให้มันเป็นอุเบกขาวางเฉย ว่างๆโปร่งๆเบานั้น ไม่ใช่บังคับได้ง่าย (สำหรับผู้ใหม่น่ะ)

สำหรับผู้ใหม่ ควรรู้ลมหายใจที่เข้าที่ออก
ถ้ารู้ลมแล้วอึดอัด ก็เปลี่ยนไปรู้กลิ่นแทน
________
เมื่อมีการยึดมั่นถือมั่น ในอารมณ์แล้ว
เราจะคลายออก แล้วให้มันเป็นอุเบกขาวางเฉย ว่างๆโปร่งๆเบานั้น ไม่ใช่บังคับได้ง่าย (สำหรับผู้ใหม่น่ะ)

สำหรับผู้ใหม่ ควรรู้ลมหายใจที่เข้าที่ออก
ถ้ารู้ลมแล้วอึดอัด ก็เปลี่ยนไปรู้กลิ่นแทน
________
อำเภอทรายมูล (ตำบลทรายมูล) เจอ ธกส ด้านขวา



มีรถ มุก-ยโส ส่วนกับ


องค์การบริหารส่วนอำเภอทรายมูล ด้านซ้าย


ป้าย บ้านโคกยาว   ด้านซ้าย
ทรายมูล --> กุดชุม --> ไทยเจริญ --> เลิงนกทา -->
___________
08 00 รถทัวมา คำเขื่อนแก้ว
____________
 งูพิษไทยมี 2 ประเภท คือ งูประเภทที่มีพิษทำลายประสาท ซึ่งมีฤทธิ์กดประสาท ทำให้ง่วงนอน หากหลับก็จะฟื้นได้ยาก เช่น งูเห่า งูจงอาง งูสามเหลี่ยม เป็นต้น และอีกประเภท คือ งูที่มีพิษทำลายระบบเลือด ทำให้แผลเน่า เช่น งูกะปะ งูเขียวหางไหม้ เป็นต้น

  สัญชัย แนะวิธีสังเกตงูพิษที่พบได้ปล่อย เช่น งูเห่า สังเกตได้เมื่อมีการแผ่แม่เบี้ย งูสามเหลี่ยมที่มีลำตัวไม่เป็นทรงกระบอกแต่เป็นรูปสามเหลี่ยม งูเขียวหางไหม้และงูกะปะที่มีลักษณะแก้มป่อง ตัวสั้น และมีเกร็ดละเอียด เป็นต้น แต่ปกติงูเป็นสัตว์ขี้อายและกลัวคนมาก คนที่โดนกัดคือกรณีจวนตัวจริงๆ หรือกรณีที่คนเข้าไปจับงู
       
เชี่ยวชาญเรื่องสัตว์เลื้อยคลาน บอกอีกว่า อาการหลังถูกงูกัดจะหนักหรือเบาขึ้นอยู่กับปริมาณพิษที่ได้รับ หากถูกงูกัดช่วงหัวค่ำมักได้รับพิษเยอะ เพราะงูเพิ่งออกล่าเหยื่อและยังมีพิษอยู่เต็มตัว แต่หากถูกกัดช่วงรุ่งสางงูมักใช้พิษไปเกือบหมด เมื่องูปล่อยพิษหมดแล้วต้องใช้เวลาอีกเป็นสัปดาห์กว่าจะผลิตพิษขึ้นมาทดแทน

   อย่างไรก็ดี สัญชัย กล่าวว่า เมื่อถูกงูกัดให้สังเกตลักษณะรอยเขี้ยวที่บาดแผล หากเป็นงูไม่มีพิษจะมีรอยเขี้ยวที่สม่ำเสมอ แต่ถ้าเป็นงูพิษจะมีรอยเขี้ยวใหญ่ๆ ด้านหน้า 2 รู และควรไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลของรัฐ ซึ่งจะมีเซรุ่มของงูที่ชุกชุมในท้องถิ่นนั้นๆ สำรองไว้ ส่วนโรงพยาบาลเอกชนมักไม่ได้สำรองไว้มาก เพราะเซรุ่มเหล่านั้นมีอายุในการเก็บรักษาและมีค่าใช้จ่าย หากเก็บไว้โดยไม่ได้ใช้ก็กลายเป็นค่าใช้จ่ายที่สิ้นเปลือ

-
ขออนุญาตแสดงความเห็น. งูปกติกลัวคน. ไม่ว่างูพิษหรือไม่พิษ. เมื่อมันได้ยินเสียงคนก็จะหนี. ดังนั้นวิธีป้องกันตน. เมื่อก่อนจะเข้าไปในสถานที่ๆรก. สงสัยมีงูควรมีไม้ยาวๆเคาะไล่ให้เกิดเสียงนำหน้าทางที่เราจะก้าวเหยียบ. (โดยเฉพาะสนามหญ้า. และโดยเฉพาะเวลาค่ำๆก่อนสี่ทุ่มเป็นช่วงที่งูหิว. ดุร้ายกว่าเวลาอื่นๆ. และอีกเวลาคือ. หลังฝนตกใหม่ๆ.หรือในฤดูฝนอากาศอบอ้าว เพราะงูชอบออกหาอาหาร(อาหารงูเช่นกบ เขียด ชอบออกเพ่นพ่านเวลาอย่างนี้). บ้านไหนชอบถอดรองเท้านอกบ้านพึงระมัดระวังอย่างยิ่ง. ว่าจะมีงู. ลูกงู. แมงป่อง ตะขาบเข้าไปซุกในรองเท้า. เวลาท่าน(หรือลูกหลานสวมใส่. มันจะกัดได้ ซึ่งหากเป็นลูกงูพิษก็ตายได้ค่ะ). ที่สำคัญ! หากถูกไม่พิษกัด. สิ่งที่เป็นปัญหาคือปผลจากเขี้ยวงูมักมีเชื้อโรคพวกไม่ต้องการอากาศ. แผลของเขี้ยวงูนี้ขอบอกว่า. ทรมาณ. ใช้เวลารักษานาน.เรียกว่าไม่โดนกัดจะดีกว่า. ดังนั้นการป้องกันด้วยการเคาะไม้นำทาง.ระวังให้มากขึ้นในฤดูฝนเป็นการป้องกันภัยจากงูที่ดีที่สุด. ไม่ต้องรอให้เจอตัวนะค่ะ. หากเจอแค่ไล่เขาก็ไปแล้วค่ะ. แค่เคาะเขาก็กระเจิงแล้ว. อ้อ. ถ้าไล่แล้วเขาสู้. ให้คิดก่อนเลยว่า. เจองูจงอางและหรืองูอื่นที่ มีไข่มีลูก. หรือกำลังหิวจัดอยู่แถวนั้น. อันนี้คุณควรเป็นผู้กระเจิงค่ะ. ออกจากบริเวณโดยด่วน. อย่าไปตีเขาค่ะ เขาจะดุและสู้คุณ.วิธีที่เขาสู้คือสู้ไม่ถอย พุ่งเข้าใส่ รุ่นตายาย. เคยเล่าว่ามีคนเคยอุ้มลูกแล้วกลัวเลยเอามีดฟันงูตาย. พอกลับถึงบ้าน.ลูกตัวเองตาย. เพราะส่วนหัวของงูพุ่งมากัดลูก(ที่อยู่ที่ไหล่พ่อ)และงับคาอยู่อย่างนั้น! ขอย้ำค่ะ. อย่าไปไล่ฆ่าเขา. แค่เคาะไม้เขาก็ไป.เคาะแค่สองสามทีเขาเห็นเราเคาะและไม่ตามราวีเขา. เขาก็เลื้อยไปอย่างสงบมากๆ.
__________
หาวัดปฏิบัติเพื่อหลุดพ้นอาสวะ
งั้นหรือ  วัดป่าบ้านตาด

วัดหลวงปู่มั่นสกลนคร

ป่าช้า+ใกล้หมู่บ้าน
__________
มงคล 38 ประการ
1
https://youtube.com/watch?v=3MGRsYIF-eU

2
https://youtu.be/xB5sgeXjCAM

3
https://youtu.be/dG67ax2aW4A

4
https://youtu.be/ZrfFVlgw6pA

5
https://youtu.be/nWiIL3iHLEk

6
https://youtu.be/NgXCRXoZ3Vo

7
https://youtu.be/s6jm84OuTpw

8
https://youtu.be/ypnnv7JPaVc

9
https://youtu.be/3bo39wvDEE4

10
https://youtu.be/LvvoDSJp8TQ

11
https://youtu.be/dKUAXtJE8nY

12
https://youtu.be/I3KGVHuazro

13
https://youtu.be/yu3Fa3p8QgQ

14
https://youtu.be/jVNZnrRqFFo

15

__________
35
https://youtu.be/n0gn2RlJIbU

36
https://youtu.be/nrQ5BZtGsWA


ทิเบต
https://youtu.be/lRUCv30MUWA

เซน
https://youtu.be/DpRDomjegzA
https://youtu.be/sHOnSJV_S8I


ลามะ
https://youtu.be/6crQNWVnUks

_________
ถ้าเปรียบชีวิตนี้ ก็เหมือนกระสอบทราย
ที่รั่วไหลออกมาตลอดเวลา
เสื่อมไปเรื่อยๆตลอดไม่มีหยุด

ถึงแม้จะเอาทรายใหม่มาเติม
มันก็ยังรั่วไหลอยู่อย่างนั้นตลอดเวลา

แม้จะมีทรายมากมายเท่าไร่ เติมทรายดีๆอยู่อย่างนั้นเรื่อยไป
แต่กระสอบทรายหรือถุงบรรจุก็เสื่อม
สภาพอยู่ตลอด

จนในที่สุดตัวกระสอบก็ขาดพังทะลายทรายไหลออกหมด ทั้งทรายเก่าทรายใหม่

ทรายหมายถึง อาหาร
กระสอบหมายถึง เนื้อหนังที่ห่อหุ้ม
ถุงขี้ที่ เดินไปเดินมา
___________
หลักธรรมที่ควรนำไปปฏิบัติในวันมาฆบูชา

          หลักธรรมที่ควรนำไปปฏิบัติคือ "โอวาทปาฏิโมกข์" ซึ่งเป็นหลักคำสอนสำคัญอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เพื่อไปสู่ความหลุดพ้น หลักธรรมประกอบด้วย หลักการ 3 อุดมการณ์ 4 และวิธีการ 6 ดังนี้

หลักการ 3 คือหลักคำสอนที่ควรปฏิบัติ ได้แก่

          1. การไม่ทำบาปทั้งปวง คือ การลด ละ เลิก ทำบาปทั้งปวง อันได้แก่ อกุศลกรรมบถ 10 ซึ่งเป็นทางแห่งความชั่ว 10 ประการที่เป็นความชั่วทางกาย (การฆ่าสัตว์ การลักทรัพย์ การประพฤติผิดในกาม) ทางวาจา (การพูดเท็จ การพูดส่อเสียด การพูดเพ้อเจ้อ) และทางใจ (การอยากได้สมบัติของผู้อื่น การผูกพยาบาท และความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรม)

          2. การทำกุศลให้ถึงพร้อม คือ การทำความดีทุกอย่างตาม กุศลกรรมบถ 10 ทั้งความดีทางกาย (ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้มาเป็นของตน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ไม่ประพฤติผิดในกาม) ความดีทางวาจา (ไม่พูดเท็จ ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดหยาบคาย ไม่พูดเพ้อเจ้อ) และความดีทางใจ (ไม่โลภอยากได้ของผู้อื่น มีความเมตตาปรารถนาดี มีความเข้าใจถูกต้องตามทำนองคลองธรรม)

          3. การทำจิตใจให้ผ่องใส คือ ทำจิตใจให้บริสุทธิ์ หลุดจากนิวรณ์ที่คอยขัดขวางจิตใจไม่ให้เข้าถึงความสงบ ได้แก่ ความพอใจในกาม, ความพยาบาท, ความหดหู่ท้อแท้, ความฟุ้งซ่าน และความลังเลสงสัย

          ซึ่งทั้ง 3 หลักการข้างต้น สามารถสรุปใจความสำคัญได้ว่า "ทำความดี ละเว้นความชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์" นั่นเอง


อุดมการณ์ 4 ได้แก่

          1. ความอดทน อดกลั้น คือ ไม่ทำบาปทั้งกาย วาจา ใจ
          2. ความไม่เบียดเบียน คือ งดเว้นจากการทำร้าย หรือเบียดเบียนผู้อื่น
          3. ความสงบ ได้แก่ การปฏิบัติตนให้สงบทั้งทางกาย ทางวาจา และทางใจ
          4. นิพพาน ได้แก่ การดับทุกข์ ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา


วิธีการ 6 ได้แก่

          1. ไม่ว่าร้าย คือ ไม่กล่าวให้ร้าย โจมตีใคร
          2. ไม่ทำร้าย คือ การไม่เบียดเบียนผู้อื่น
          3. สำรวมในปาฏิโมกข์ คือ เคารพระเบียบวินัย กฎกติกา รวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของสังคม
          4. รู้จักประมาณ คือ รู้จักความพอดีในการบริโภค รวมทั้งการใช้สอยสิ่งต่าง ๆ
          5. อยู่ในสถานที่สงัด คือ อยู่ในสถานที่ที่มีสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
          6. ฝึกหัดจิตใจให้สงบ คือ การฝึกหัดชำระจิตใจให้สงบ มีประสิทธิภาพที่ดี
____________
https://m.youtube.com/watch?v=9icO4RWAkVo
_________
พระอาจารย์คึกฤ: ของที่โยมประเคนแล้ว 
ถ้าโยม มาจับ   พระก็ฉันได้

แต่ถ้าพระรับประเคนแล้ว 4 อันที่ 5 โยมมาวางไว้ยังไม่ได้ประเคน ด้วยกาย หรือวาจา ถ้าพระฉันต้องอาบัติปาจิตตี
___________
 เรื่อง "ชีวิตไม่ใช่ของเล่น จงอย่าทำเล่นเล่นกับชีวิต
_____________
http://audio.palungjit.org/f23/รับฟังนิทานธรรมคีตะ-พระอาจารย์สมรัก-ญาณธีโร-2717.html



การปฎิบัติให้รู้อายตนะ12 ตาหูจมูกลิ้นกายใจ-มันร้อน

พระอาจารย์เปลี่ยน ปัญญาปทีโป
_________
ถ้าบ่อออกไปบิณฑบาต ย้อนหนาวนิ
บ่คือคัก ใช้บ่ได้เลย
________
สภาวะธาตุเศร้าหมอ,ธาตุหดหู่,ธาตุตัณหาร้อนๆ

สภาวะธาตุเหล่านี้ ไม่ใช่เกิดจากคนอื่นเขาส่งมาให้
เวลาเขาด่า หรือเขาปล่อยเสียงออกมา

แล้วเกิดการได้ยิน

มีแค่เสียงที่มา

แต่สภาวะธาตุเศร้าหมอง จิตนี้เองปรุงขึ้นมาเผารนให้รู้ (ด้วยอำนาจของอวิชชา)


ถ้ามันเกิดขึ้นแล้ว จะปัดออกให้หมดพึบเดียว
สำหรับผู้ใหม่นั้นมิใช่เรื่องง่าย

เท่าที่ลองดูด้วยตนเอง
ต้องรู้ลม จึงค่อยๆคลายหาย

#
เดินไป เท้าไปโดนประตู
แล้วมีความโกรธเกิดขึ้น
แล้วโทษประตู

ที่จริงแล้ว ประตูเขาไม่ได้ส่ง กระแสธาตุความโกรธ ความหดหู มาให้เลย
แต่จิตนี้เองปรุงสร้างสภาวะธาตุเหล่านั้นขึ้นมา


#
พูดกับปู่ย่า.. 
แล้วเราเกิดความไม่พอใจ(ธาตุปฏฆะ)
เนื่องจากไม่ได้ยินเสียงปู่ย่าพูดตอบกลับ

แท้ที่จริงแล้ว ปู่ย่าอาจไม่ได้ยินก็เป็นได้
(ปู่ย่าไม่ได้ส่ง กระแสธาตุปฏิฆะมาให้ ใส่ไว้ในมโนเลย
แต่จิตนี้เองที่มัน ปรุงสร้างธาตุปฏิฆะขึ้นมา


#เรามองเห็น ผู้หญิงแต่งตัวเวิมว๋าม ใส่ผ้าคลุมสั่นๆห่อหุมปกปิดกายไม่ดี
เห็นเนื้อขาวๆตามส่วนต่างๆที่ปรากฏ
มาใส่บาติ

เช่นกัน หญิงนั้นเขามิได้ ส่งกระแสธาตุ กาม มาให้เลย เขามิได้ส่ง ข้อมูลปรุงแต่งในราคะมาให้เผารนเลย

แต่จิตนี้เองที่มันปรุงธาตุกาม ราคะ ขึ้นมา


(ทั้งหมดทั้งมวล เพราะ เข้าไปยุ่งเข้าไปถือมั่นใน ธาตุรูป ธาตุเสียง ธาตุกลิ่น ธาตุรส ธาตุสัมผัส
และธาตุธรรมารมณ์

ธาตุธรรมารมณ์ --> อดีตบุพเพ  , อนาคต(สังขารแบบนึกคิดปรุง)
________
เราจะไม่เกิดมาตายฟรีทิ้ง 
ต้องบรรลุธรรมขั้นใด
เกาะบันใดไว้ให้ได้
17/02/2016
12:45
____________
บารมี 10 

*****

เอาศีลละบารมีไปสงเคราะใส่ มุ่งในด้านทาน

*****

เอาวิริยะบารมีไปสงเคระใส่
มุ่งในด้านทาน



""ทีนี้ลองพิจารณาแบบนี้ไปสงเคราะเข้าใส่กัน   

"
จะสอดคล้องกับ วิริยะบารมีสงเคราะใส่ ภาวนาบารมี ปัญญาบารมี
_________
ฝึกทิพย์จักขุ โดยหลอดไฟ

ประโยชน์การใช้หลอดไฟ LED
      หลอดไฟแอลอีดี เป็นหลอดไฟที่ประหยัดพลังงานมากกว่าหลอดไฟประเภทอื่นๆที่มีอยู่ในตลาดทั้งหมด และการประหยัดเงินค่าไฟฟ้าจากการใช้หลอดไฟ LED ตั้งแต่ 15-75% แล้วแต่ชนิดของหลอดเดิม ก็เป็นจุดประสงค์หลักขององค์กร ร้านค้า บริษัท โรงงานผู้ผลิต ผู้ประกอบการใดอยู่แล้วที่ต้องการลดต้นทุนภายในอย่างไรก็ดี การใช้หลอดไฟ LED ยังมีประโยชน์ในมุมอื่นๆอีกมากที่คุณอาจจะไม่เคยรู้มาก่อน จึงขอแสดงประโยชน์ของการใช้หลอดไฟ LED เป็นข้อๆต่อไปนี้

1. ไม่มีแสง UV
2. ปล่อยความร้อนน้อยลงกว่าหลอดไฟแบบเดิม
3. LED ทนต่อการสั่นสะเทือนมากกว่า
4. แสงจากหลอดไฟ LED ไม่กระพริบ
5. ประสิทธิภาพของแสงที่เหมาะสมกับรูปแบบโคม
_________
ตอนนี้เรามาฝึกฝนตนเองอยู่นะ
________
มิจฉาทิฐิ กำลังเจริญ

คนที่เข้าใจว่าพระวัดบ้านไม่ต้องปฏิบัติ
เพราะเป็นสายพัฒนา

ส่วนพระวัดป่าเท่านั้นจึงควรปฏิบัติ
________
อุบายแก้ง่วง
ถ้าขณะเดินจงกลมถ้าง่วง ก็ให้ฝืนมัน
อย่าไหลไปกับความง่วงนั้น
ให้เตือนด้วยคุณวิเศษต่างๆ ว่า
ถ้าง่วงอย่างนี้ บรรลุคุณวิเศษอะไรไม่ได้เลยนะ

หรือ2 เดินถอยหลัง
หรือ3เดินจงกลมแบบเร็วสลับช้า 7 ก้าวเร็ว 7 ก้าวช้า



ถ้านั้งสมาธิแล้วง่วง ก็ให้ฝืนมัน
อย่าไหลไปกับความง่วงนั้น
ให้เตือนด้วยคุณวิเศษต่างๆ ว่า
ถ้าง่วงอย่างนี้ บรรลุคุณวิเศษอะไรไม่ได้เลยนะ

หรือ2 ถอดถลกบาตออก แล้วเอาเข้าใหม่

(หรือจะทำตามวิธีที่พระพุทธเจ้าพระโมคคัลานะ)
______
สัจสะหรือความตั้งใจ ที่เกี่ยวกับกามคุณ5
ถึงจะลืมหรือผ่านไปแล้ว พอนึกขึ้นได้สัตว์นั้นก็จะขวานขวายบริโภคทันที

แต่สัจสะหรือความตั้งใจใด ที่เกี่ยวกับการ
ปรารภความเพียรเพื่ออรหัน
สัตว์นั้นลืมแล้ว พอนึกขึ้นได้
ก็ขี้เกลียดคร้านปรารภความเพียร
จะโดนจิตมาร อ้าง กาลเวลา อย่าทำๆ ไม่ใช่เวลา ๆ ไว้ก่อน

ลองนึกเป็นเหตุการณ์speedเร็ว ไปถึงวันตาย

จะเห็นว่าสัตว์ตนนี้ เสียเวลาไปกับกิจอื่น มากกว่ากิจปรารภความเพียร
________
ร่างกายนี่ ได้เคยเป็นที่อาศัยของวิญญาณอื่น

และร่างกายนี่เคยได้เป็นอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นฆ้อน เป็นดาบ เป็นก้อนหิน
เป็นกำแพง
เป็นที่สัตว์ถือกำเนิด

เป็นต้นไม้
เป็นอาหาร
เป็นอุจจาระ
เป็นมงกุฏ
เป็นถนน
และไฟเคยไหม้แล้ว
ไฟเคยลวกแล้ว
เคยเป็นไม้แกล้งขี้
เคยเป็นขี้
เคยเป็นดินปืน
เคยเป็นขี้เฒ่า
เคยเป็นกระเบียง

ลูกตา เคยเป็นก้อนขี้
ลูกตาเคยเป็นผลไม้

ลิ้นเคยเป็นก้อนดินเหนียว
กระดูกเคยเป็น เศษดิน
น้ำเคยเป็น น้ำในผลไม้

ร่างกายทุกส่วนเป็นธาตุของสังสารวัฏ
หมุนเวียนผลัดเปลี่ยนกันใช้
ปั่นแต่งก่อรวมขึ้นมาตามโอกาสทีใครทีมัน

ร่างกายไม่ใช่ของใคร
โทรศัพท์ก็เป็นธาตุดิน

แม้ธาตุน้ำก็เหมือนกัน
________
อะไรเอ่ยเมื่อสัตว์ทั้งหลาย
เข้าไปมีตัณหา เข้าไปยึด เข้าไปถือสา แล้วย่อมเป็นทุกข์?

ธาตุเหล่านี้แล 
ธาตุรูป คือรูปต่างๆที่เห็น
ทั้งเป็นทรงต่างๆ วงกลม ไม่วงกลม วงใหญ่ วงเล็ก วงแบบต่างๆ
สีต่างๆ สีเขียว สีขาว สีดำ สีแดง
สัญฐานอย่างนั้นอย่างนี้ ใกล้ไกล ระความละเอียดลึก ปานกลาง ไม่ลึก
(รวมความแล้ว คือทุกสิ่งที่ตาเห็น)

ธาตุเสียง ธาตุกลิ่น ธาตุรส ธาตุสัมผัส ธาตุธรรมารมณ์


ธาตุรูป หรือเรียกอีกแบบว่า 
 ผัสสะทาง ตา+ธาตุรู้

ธาตุเสียง หรือเรียกอีกแบบว่า
 ผัสสะทาง หู+ธาตุรู้

ธาตุกลิ่น หรือเรียกอีกแบบว่า 
 ผัสสะทาง จมูก+ธาตุรู้

ธาตุรส หรือเรียดอีกแบบว่า
 ผัสสะทาง ลิ้น+ธาตุรู้

ธาตุโผสฐัพพะ หรือเรียกอีกแบบว่า 
ผัสสะทาง กาย+ธาตุรู้

ธาตุธรรมารมณ์ หรือเรียกอีกแบบว่า
 ผัสสะทาง มโน+ธาตุรู้



คนเราได้เป็นมนุษย์
ก็ไม่เตรียมตัวเพื่อให้ตนเองได้เป็นมนุษษาอีก
______
กว่าจะผ่านเรื่องราวต่างๆในเพศฆราวาส แล้วเข้ามาสู่ "ธรรมของพระอรหันตสัมมาสัมพุทธะเจ้า" ได้
ไม่ใช่ง่าย... เลยนะ
________________
ธรรมะในวันวาเลนไทน์

ถ้าคนที่เขาเป็นแฟนกันแล้ว เราอย่าไปเกี่ยวข้องแบบจีบ
หรือแบบขอคบ หรือยุให้เขาแตกกันนะ ทำนองว่า เขาเลิกกันเพราะผี๋มือเรา ผี๋ปากเรา" ฝี๋เท้าเรา"

แต่ถ้าเขาหรือเธอคนนั้น  
มีคนมาจีบเยอะเลย 
มีคนมาขอคบด้วยเยอะเลย แต่เขาหรือเธอคนนั้น
ยังไม่ตอบตกลงเป็นแฟนกันกับใคร
นั่นแสดงว่าเขายังโสด..
(หรือเรียกภาษาสมัยใหม่ว่า เขากำลังอ่านหนังสืออยู่)
#คนที่ขอคบนั่นแหละเรียกว่าหนังสือ"


"""เด็กรุ่นใหม่ ไฟแรงใจร้อน"" อ่านได้เล่มหนึ่ง เล่มสอง เล่มสาม ก็เลือกเล่มสาม  เพราะไม่รู้ว่าเล่มต่อไปจะมีไหม? เล่มต่อไปจะเหมือนอย่างนี้ไหม?
-ถ้ายังมีราคะอยู่ เล่มต่อไปก็มี..ไม่ควรใจร้อน
เล่มต่อไปจะเหมือนอย่างนี้ไหม
-ในโลกนี้ไม่มีใครนิสัยเหมือนกัน
มีแต่ต่างกันมาก ต่างกันน้อย หรือคล้ายกัน
 ควรเลือกคบคนที่นิสัยคล้ายกันกับเรา"

แต่ถ้าหากเราไม่ดี แต่แฟนเป็นคนดี
เราต้องปรับนิสัยไปให้คล้ายแฟน

ถ้าเราไม่ดี แล้วเราก็หาคนที่พื้นนิสัยไม่ดีคล้ายเรา
อย่างนี้ มีแต่ฉุดกันและกันให้ตกต่ำ"

"คนที่ใช่ต้องต้องเจอกันในเวลาที่มีสิทธิ์ เวลาที่ไม่มีสิทธิ์ต่อให้เคยครองคู่กันมาเป็นล้านชาติ ถ้าชาตินี้เขาพลัดไปมีคู่ซะแล้ว ยังไงก็ไม่ใช่

แต่ถ้าเขาเป็นคู่เก่าคู่บุญบารมีเก่าเรา
เขาหรือเธอคนนั้นจะแยกย้ายกันเอง
โดยที่คุณไม่ได้มีส่วนในการทำให้เขาเลิกกันแม้แต่นิดเลย


บุคคลเป็นมนุษย์เราต้องมีเป้าหมาย ที่จะทำให้ชีวิตจิตใจตนเองเจริญขึ้น
ถึงจะมีตัวล่อมากมาย  ที่ล่อให้เราหักเหออกนอกเส้นทางเป้าหมายนั้น

เราต้องคอยเตือนตนเองอยู่เสมอๆ
ว่าอย่าหลงไปกับ" ตัวล่อ" นะ
_____

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น