วันจันทร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2565

พระมงคลชัย กิตติโสภโณ อย่าหลงวิบากเด้อ.พระพุทธเจ้า ตรัส :อานนท์ ถ้าตัณหาอันได้แก่รูปตัณหา (ตัณหาในรูป)สัททตัณหา (ตัณหาในเสียง)คันธตัณหา (ตัณหาในกลิ่น)รสตัณหา (ตัณหาในรส)โผฏฐัพพะตัณหา (ตัณหาในสิ่งถูกต้องสัมผัส,ธรรมตัณหาจักไม่มีโดยประการทั้งปวง จักไม่มีในกาลทั้งปวง จักไม่มีแก่ใครๆจักไม่มีในที่ไหนๆแล้วเมื่อตัณหาไม่มีโดยประการทั้งปวงเพราะความดับตัณหาแล้วอุปทานจักปรากฏหรือไม่พระอานนท์ ตอบ : "ไม่ปรากฏพระเจ้าข้า"ธัมมัตถาธิบายตัณหานั้นได้แก่ ความสะดุ้งดิ้นรน ในเรื่องตาเห็นรูปตัณหานั้นได้แก่ ความสะดุ้งดิ้นรน ในเรื่องหูได้ยินเสียงตัณหานั้นได้แก่ ความสะดุ้งดิ้นรน ในเรื่องจมูกได้ถูกกลิ่นตัณหานั้นได้แก่ ความสะดุ้งดิ้นรน ในเรื่องลิ้นได้ลิ้มรสตัณหานั้นได้แก่ ความสะดุ้งดิ้นรน ในเรื่องกายได้ถูกต้องโผฏฐัพพะตัณหานั้นได้แก่ ความสะดุ้งดิ้นรน ในเรื่องใจที่ปรุงแต่ง นึกคิดถึงเรื่องราวต่างๆความสะดุ้งดินรนก็คือเมื่อเห็นว่าสิ่งใดเป็นที่รักใคร่พอใจทางตา ทางหูทางจมูก ทางลิ้นทางกาย ทางใจก็ดิ้นรนทะเทอทะยานอยากได้สิ่งนั้นเมื่อเห็นว่าสิ่งใดเป็นที่เกลียดชังก็ดิ้นรนทะเทอทะยานอยากให้สิ่งนั้นพินาศไปหรืออยากให้สิ่งนั้นพ้นไปจากตัวเสีย อยากให้สิ่งนั้นอยู่ไกลตัว# ก็คือตัวสมุทัยสัจฯพระพุทธเจ้า ตรัส :“มิคชาละ รูปที่พึงรู้แจ้งทางตาที่น่าปราถนา น่าใคร่ น่าพาใจให้กำหนัดมีอยู่ถ้าภิกษุยังเพลิดเพลินหรือเชยชม หรือยึดติดรูปนั้นอยู่ ความเพลิดเพลินย่อมเกิดขึ้นเรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินเกิด ทุกข์จึงเกิด’เสียง ที่พึงรู้แจ้งทางหูที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ฯ มีอยู่ ฯกลิ่น ที่พึงรู้แจ้งทางจมูกที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ฯ มีอยู่ฯรส ที่พึงรู้แจ้งทางลิ้นที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ฯ มีอยู่ ฯโผฏฐัพพะที่พึงรู้แจ้งทางกายที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจฯ มีอยู่ ฯธรรมารมณ์( ์(เรื่องราวต่างๆนาๆอันเกิดจากการกำหนดหมายและคิดความคิดปรุงแต่ง) ที่พึงรู้แจ้งทางใจที่น่าปรารถนา น่าใคร่น่าพอใจ ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดมีอยู่ถ้าภิกษุยังเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติดธรรมารมณ์นั้นอยู่ เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติดธรรมารมณ์นั้นความเพลิดเพลินย่อมเกิดขึ้น เรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินเกิด ทุกข์จึงเกิด’ดูกรมิคชาละ รูปที่พึงรู้แจ้งทางตาที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ชวนให้รักชักให้ใคร่พาใจให้กำหนัดมีอยู่ ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชมไม่ยึดติดรูปนั้นอยู่ เมื่อเธอไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติดรูปนั้น ความเพลิดเพลินย่อมดับไปเรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินดับ ทุกข์จึงดับ’เสียง ที่พึงรู้แจ้งทางหูที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ฯ มีอยู่ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติดเสียงนั้น ความเพลิดเพลินย่อมดับไปเรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินดับ ทุกข์จึงดับ’กลิ่น ที่พึงรู้แจ้งทางจมูกที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ฯ มีอยู่ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติดกลิ่นนั้น ความเพลิดเพลินย่อมดับไปเรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินดับ ทุกข์จึงดับ’รสที่พึงรู้แจ้งทางลิ้นที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ฯ มีอยู่ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติดรสนั้น ความเพลิดเพลินย่อมดับไปเรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินดับ ทุกข์จึงดับ’โผฏฐัพพะที่พึงรู้แจ้งทางกายที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ฯ มีอยู่ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติดโผฏฐัพพะนั้น ความเพลิดเพลินย่อมดับไปเรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินดับ ทุกข์จึงดับ’ธรรมารมณ์[เรื่องราวต่างๆนาๆอันเกิดจากการหมาย(สัญญา)และคิดความคิดปรุงแต่ง(สังขาร)]ที่พึงรู้แจ้งทางใจที่น่าปรารถนา น่าใคร่น่าพอใจชวนให้รัก ชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดมีอยู่ ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชมไม่ยึดติดธรรมารมณ์นั้นอยู่ เมื่อเธอไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติดธรรมารมณ์นั้นความเพลิดเพลินย่อมดับไป เรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินดับทุกข์จึงดับ”ครั้งนั้นแล ท่านพระมิคชาละยินดีอนุโมทนาภาษิตของพระผู้มีพระภาค ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคทำประทักษิณแล้วหลีกไปครั้งนั้นแล ท่านพระมิคชาละหลีกออกจากหมู่ อยู่แต่ผู้เดียวไม่ประมาท มีความเพียร มีตนอันส่งไปแล้ว ทำให้แจ้งซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์อันยอดเยี่ยม ที่กุลบุตรทั้งหลายออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตต้องการนั้นด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบันเข้าถึงอยู่ รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้วกิจที่ควรทำทำเสร็จแล้วกิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี และท่านพระมิคชาละได้เป็นพระอรหันต์องค์หนึ่งในจำนวนพระอรหันต์ทั้งหลาย ฉะนี้แล ฯศาสนากำลังสั่นคลอน___/\___ ___/\___ ____/\____พระมงคลชัย กิตติโสภโณ อย่าหลงวิบากเด้อ# คำว่า " ธมฺม " เป็นภาษาบาลีเมื่อแปลเป็นไทยจะออกมาว่า"ธรรมะ , ธรรมารมณ์"นัยยะความหมายก็คือ "แปลว่า "เรื่องราว"ถ้าเราไม่รับรู้ทางตาหูจมูกลิ้นกาย'นั้นแหละคือการ รู้แจ้งทางใจก็เห็นเรื่องราวต่างๆนาๆ ทั้งเรื่องอดีตผ่านมา ทั้งเรื่องปรุงสร้างขึ้นใหม่เอารูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ นี่แหละมา ปรุงแต่งใหม่และขณะปรุงก็รู้ไปด้วยปรุงไปด้วยพระพุทธเจ้าตรัสว่าวิญญาณจะไม่เวียนเลยไปจาก ๔ ธาตุนี้คือรูป เวทนาธาตุ สัญญาธาตุ สังขารธาตุ( นี่แหละเหตุที่มาของคำว่า" เรื่องราวต่างๆนาๆอันเกิดจากการกำหนดหมายและคิดความคิดปรุงแต่ง)พระมงคลชัย กิตติโสภโณ อย่าหลงวิบากเด้อก็คือทางใจนั้น (วิญญาณอาการความรู้แจ้ง)จะมีแค่ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และต่อด้วย เวทนาขันธ์อันเกิดต่อจาก มโนสัมผัสสชาเวทนาตอนนี้เวทนาทางกายนั้นไม่มีแล้วอาจเป็นช่วง อย่างเช่นหลับอย่างเช่นผู้เข้าสมาธิระดับอรูปฌาน

พระมงคลชัย กิตติโสภโณ อย่าหลงวิบากเด้อ
.พระพุทธเจ้า ตรัส :
อานนท์ ถ้าตัณหาอันได้แก่
รูปตัณหา (ตัณหาในรูป)
สัททตัณหา (ตัณหาในเสียง)
คันธตัณหา (ตัณหาในกลิ่น)
รสตัณหา (ตัณหาในรส)
โผฏฐัพพะตัณหา (ตัณหาในสิ่งถูกต้องสัมผัส,
ธรรมตัณหา
จักไม่มีโดยประการทั้งปวง จักไม่มีในกาลทั้งปวง จักไม่มีแก่ใครๆ
จักไม่มีในที่ไหนๆแล้ว
เมื่อตัณหาไม่มีโดยประการทั้งปวง
เพราะความดับตัณหาแล้ว
อุปทานจักปรากฏหรือไม่
พระอานนท์ ตอบ : "ไม่ปรากฏพระเจ้าข้า"
ธัมมัตถาธิบาย
ตัณหานั้นได้แก่ ความสะดุ้งดิ้นรน ในเรื่องตาเห็นรูป
ตัณหานั้นได้แก่ ความสะดุ้งดิ้นรน ในเรื่องหูได้ยินเสียง
ตัณหานั้นได้แก่ ความสะดุ้งดิ้นรน ในเรื่องจมูกได้ถูกกลิ่น
ตัณหานั้นได้แก่ ความสะดุ้งดิ้นรน ในเรื่องลิ้นได้ลิ้มรส
ตัณหานั้นได้แก่ ความสะดุ้งดิ้นรน ในเรื่องกายได้ถูก
ต้องโผฏฐัพพะ
ตัณหานั้นได้แก่ ความสะดุ้งดิ้นรน ในเรื่องใจที่ปรุงแต่ง นึกคิด
ถึงเรื่องราวต่างๆ
ความสะดุ้งดินรนก็คือ
เมื่อเห็นว่าสิ่งใดเป็นที่รักใคร่พอใจ
ทางตา ทางหู
ทางจมูก ทางลิ้น
ทางกาย ทางใจ
ก็ดิ้นรนทะเทอทะยานอยากได้สิ่งนั้น
เมื่อเห็นว่าสิ่งใดเป็นที่เกลียดชัง
ก็ดิ้นรนทะเทอทะยานอยากให้สิ่งนั้นพินาศไป
หรืออยากให้สิ่งนั้นพ้นไปจากตัวเสีย อยากให้สิ่งนั้นอยู่ไกลตัว
# ก็คือตัวสมุทัยสัจฯ
พระพุทธเจ้า ตรัส :
“มิคชาละ รูปที่พึงรู้แจ้งทางตา
ที่น่าปราถนา น่าใคร่ น่าพาใจให้กำหนัดมีอยู่
ถ้าภิกษุยังเพลิดเพลิน
หรือเชยชม หรือยึดติดรูปนั้นอยู่ ความเพลิดเพลินย่อมเกิดขึ้น
เรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินเกิด ทุกข์จึงเกิด’
เสียง ที่พึงรู้แจ้งทางหูที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ฯ มีอยู่ ฯ
กลิ่น ที่พึงรู้แจ้งทางจมูกที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ฯ มีอยู่
รส ที่พึงรู้แจ้งทางลิ้นที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ฯ มีอยู่ ฯ
โผฏฐัพพะที่พึงรู้แจ้งทางกายที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ
ฯ มีอยู่ ฯ
ธรรมารมณ์( ์(เรื่องราวต่างๆนาๆอันเกิดจากการกำหนดหมาย
และคิด
ความคิดปรุงแต่ง) ที่พึงรู้แจ้งทางใจที่น่าปรารถนา น่าใคร่
น่าพอใจ ชวน
ให้รัก
ชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดมีอยู่
ถ้าภิกษุยังเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติดธรรมารมณ์นั้น
อยู่ เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติดธรรมารมณ์นั้น
ความเพลิดเพลินย่อม
เกิดขึ้น เรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินเกิด ทุกข์จึงเกิด’
ดูกรมิคชาละ รูป
ที่พึงรู้แจ้งทางตาที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ชวนให้รัก
ชักให้ใคร่
พาใจให้กำหนัดมีอยู่ ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม
ไม่ยึดติดรูปนั้นอยู่ เมื่อ
เธอไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติดรูปนั้น ความเพลิดเพลินย
่อมดับไป
เรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินดับ ทุกข์จึงดับ’
เสียง ที่พึงรู้แจ้งทางหูที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ฯ มีอยู่
ถ้าภิกษุ
ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติดเสียงนั้น ความเพลิดเพลินย
่อมดับไป
เรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินดับ ทุกข์จึงดับ’
กลิ่น ที่พึงรู้แจ้งทางจมูกที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ฯ มีอยู่
ถ้าภิกษุ
ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติดกลิ่นนั้น ความเพลิดเพลินย
่อมดับไป
เรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินดับ ทุกข์จึงดับ’
รส
ที่พึงรู้แจ้งทางลิ้นที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ฯ มีอยู่
ถ้าภิกษุไม่เพลิ
ดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติดรสนั้น ความเพลิดเพลินย่อมดับไป
เรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินดับ ทุกข์จึงดับ’
โผฏฐัพพะ
ที่พึงรู้แจ้งทางกายที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ฯ มีอยู่
ถ้าภิกษุไม่เพลิ
ดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติดโผฏฐัพพะนั้น ความเพลิดเพลินย่อมดับไป
เรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินดับ ทุกข์จึงดับ’
ธรรมารมณ์[เรื่องราวต่างๆนาๆอันเกิดจากการหมาย(สัญญา)
และคิดควา
มคิดปรุงแต่ง(สังขาร)]ที่พึงรู้แจ้งทางใจที่น่าปรารถนา น่าใคร่
น่าพอใจ
ชวนให้รัก ชักให้
ใคร่ พาใจให้กำหนัดมีอยู่ ถ้าภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม
ไม่ยึดติดธรรมาร
มณ์
นั้นอยู่ เมื่อเธอไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติดธรรมารมณ์นั้น
ความ
เพลิดเพลินย่อมดับไป เรากล่าวว่า ‘เพราะความเพลิดเพลินดับ
ทุกข์จึงดับ”
ครั้งนั้นแล ท่านพระมิคชาละยินดีอนุโมทนาภาษิตของพระผู้มี
พระภาค ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค
ทำประทักษิณแล้ว
หลีกไป
ครั้งนั้นแล ท่านพระมิคชาละหลีกออกจากหมู่ อยู่แต่ผู้เดียว
ไม่ประมาท มี
ความ
เพียร มีตนอันส่งไปแล้ว ทำให้แจ้งซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรร
ย์อันยอดเยี่ยม ที่กุลบุตร
ทั้งหลายออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตต้องการนั้น
ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง
ในปัจจุบัน
เข้าถึงอยู่ รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
กิจที่ควรทำทำเสร็จ
แล้ว
กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี และท่านพระมิคชาละได้
เป็นพระอรห
ันต์องค์หนึ่ง
ในจำนวนพระอรหันต์ทั้งหลาย ฉะนี้แล ฯ
ศาสนากำลังสั่นคลอน
___/\___ ___/\___ ____/\____



พระมงคลชัย กิตติโสภโณ อย่าหลงวิบากเด้อ
# คำว่า " ธมฺม " เป็นภาษาบาลี
เมื่อแปลเป็นไทย
จะออกมาว่า
"ธรรมะ , ธรรมารมณ์"
นัยยะความหมายก็คือ "
แปลว่า "เรื่องราว"
ถ้าเราไม่รับรู้ทางตาหูจมูกลิ้นกาย
'นั้นแหละคือการ รู้แจ้งทางใจ
ก็เห็นเรื่องราวต่างๆนาๆ ทั้งเรื่องอดีตผ่านมา ทั้งเรื่องปรุงส
ร้างขึ้นใหม่
เอารูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ นี่แหละมา ปรุงแต่งใหม่
และขณะปรุงก็รู้ไปด้วยปรุงไปด้วย
พระพุทธเจ้าตรัสว่า
วิญญาณจะไม่เวียนเลยไปจาก ๔ ธาตุนี้
คือรูป เวทนาธาตุ สัญญาธาตุ สังขารธาตุ
( นี่แหละเหตุที่มาของคำว่า" เรื่องราวต่างๆนาๆอันเกิด
จากการกำหนดหมายและคิดความคิดปรุงแต่ง)

พระมงคลชัย กิตติโสภโณ อย่าหลงวิบากเด้อ
ก็คือทางใจนั้น (วิญญาณอาการความรู้แจ้ง)
จะมีแค่ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และต่อด้วย เวทนาขันธ์อันเกิดต่อ
จาก มโนสัมผัสสชาเวทนา
ตอนนี้เวทนาทางกายนั้นไม่มีแล้ว
อาจเป็นช่วง อย่างเช่นหลับ
อย่างเช่นผู้เข้าสมาธิระดับอรูปฌาน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น