วันเสาร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2565

คนเราเสียเวลา หมกมุ่นครุนคิดอยู่กับเรื่องไหนมากๆแปลว่าจะเก่งจริงในเรื่องนั้น ทันทีที่ลงมือทำเป็นอาชีพ"เขาเคยเป็นลูกศิษย์ของพี่มาก่อน พี่เคยสอนให้ได้ดีมา ก็เป็นเหตุปัจจัยให้มาชี้นำกันอีก""การเวียนว่ายตายเกิดถึงซับซ้อนไง พระพุทธเจ้าก็ตรัสว่า ชาติไหนเจอกัลยาณมิตร ได้เป็นหลักยึดก็ดีไป แต่ถ้าชาติไหนพบพาล ติดใจหลุมดำของพาล ก็ถึงเวลาลากลงต่ำ"

คนเราเสียเวลา หมกมุ่นครุนคิดอยู่กับเรื่องไหนมากๆ
แปลว่าจะเก่งจริงในเรื่องนั้น ทันทีที่ลงมือทำเป็นอาชีพ


"เขาเคยเป็นลูกศิษย์ของพี่มาก่อน พี่เคยสอนให้ได้ดีมา ก็เป็นเหตุปัจจัยให้มาชี้นำกันอีก"

"การเวียนว่ายตายเกิดถึงซับซ้อนไง พระพุทธเจ้าก็ตรัสว่า ชาติไหนเจอกัลยาณมิตร ได้เป็นหลักยึดก็ดีไป แต่ถ้าชาติไหนพบพาล ติดใจหลุมดำของพาล ก็ถึงเวลาลากลงต่ำ"

_______________
ฝันว่าได้เดินออกจากบ้าน เห็นหลวงตาบัวตื่นแล้ว(ในความฝันตั้งว่าจะเดินไปทางลวงตานี่แหละ แต่ทำตัวว่าจะทำตัวเป็นว่าตื่นเช้า
แล้วเดินไปเข้าทางป่าทางซ้ายเดินเดินขึ้นไปบนถนนขอบหนอง แล้วเจอบ้านหลังหนึ่งอยู่ด้านซ้ายมือเหมือนมีคนอยู่ เปิดไฟไม่ค่อยสว่างชัดนัก เหมือนใช้ตะเกียง
เราก็เลยเดินต่อไปแล้วก็เห็นหนองอีกหนองหนึ่ง หนองนั้นมืดมากๆๆๆๆๆ เราเดินยังไม่ถึงนะแต่เกือบจะถึงแล้ว สายตามันทอดไปเห็นก่อนหนองนั้นมืดมากๆๆเป็นสี่เหลี่ยมใหญ่กว่าหนองแลก เราเลยเดินกลับพอเดินกลับมองไปที่บ้านหลังนั้นเหมือนกุฏี ก็มีไฟอยู่เหมือนเดิม แล้วก็เดินๆความมืดมันก็ตามมาข้างหลังคลุมยังไม่คลุมเรานิดเดียวคลุมทางที่จะเดินต่อนิดเดียว เห็นทางยังชัด95% แล้วก็ไปเจอทางขาด (ในความฝันเอ้าทางขาด มันขาดมาตั้งแต่เดิมแล้ว
เราก็เลยเดินลงไปจะข้ามทางแบบไม่คิดว่ามันจะลึกเลย พอลงไปแล้วน้ำเพียงหำ น้ำสีดำมืดไหลไปทางสระน้ำธรรมดาแล้วก็เดินลุยไปๆขึ้นทางที่มันขาดเดินไปไม่ค่อยนานก็เจอหลวงตาหลวงตาบัว ปากฏว่าทางขาด มีน้ำไหลเชี่ยวเกือบถึงเพียงหำ เราก็ลงไปก็ตกใจ โอ้น้ำคึลึกแท้คิดในใจ แล้วก็เดินผ่านไป
เห็นหลวงตานั้งเล่นอยู่ เหมือนหลวงตาตื่นนานแล้วออกมานั้งเล่น หรือฝีกแดด แต่อากาศมันไม่ร้อนไม่หนาวนะ เราก็เดินเข้าไปหาหลวงตา
ถาม หนาวบ่อครับหลวงตา
กะหนาวยุ บางวันเอาน้ำอุ่นเช็ดตัว
แล้วก็คุยกับคนดูแลหลวงตา(เป็นผู้ชาย)บอกว่าบางวันผมล้างแค่หน้าเอง
เราตอบผมแฮงล่างแค่ตา พร้อมกับทำท่าใช้นิ้วล้างแค่ตา
แล้วหลวงตาก็พูด
ตายนี้ไม่กลัวนะ มีแต่ธรรมเต็มหัวใจ จะไปนิพพาน
จะไปนิพพานไม่ต้องเอาอะไรไป(ให้ละให้หมด)
หลวงตาถาม ห่วงนางนาคไหม รักนางนาคไหม แล้วคนดูแลหลวงตาก็พูดเสริมขึ้น
"ตอนนี้นางนาคโดนเขาจับโดนทำร้ายอยู่ จะช่วยนางนาคไหม
("ในความฝันภาวะนี้ เหมือนกับว่าทั้งหลวงตาและคนดูแลหลวงตา คิดว่าเราผูกพันกับนางนาคอยู่ แต่เราไม่รู้นางนาคคือใคร
และก็นางนาคคือใครนางนาครักเราอยู่หรอ ในความฝันนะคิดว่านางคาครักเราเหร่อรักกันเหร่อ ถึงต้องไปช่วย มันมีความรู้สึกแบบนั้นจริงๆนะ ก็เลยมาคิดแล้วปุ๊บขึ้นมา
นางนาคคือแม่เรานี้แน่ๆ มันคิดอย่างนี้จริงๆในฝัน ไม่มีหญิงไหนอีกแล้วเกี่ยวข้องกับเรา พอคิดปุ๊บก็เห็นภาพโยมแม่ในนิมิต ใส่เสื้อสีน้ำเงินเสื้อกันหนาวสีน้ำเงิน)
)
เราก็เลยตอบหลวงตา "หลวงตาครับมีประมาณ2อย่างครับ ถ้าจะช่วยก็คือช่วยด้วยความเมตตา
หรือ2ก็ถือว่าเป็นกรรมมเก่าของเขาที่ทำให้เขา ได้รับผลออกมาเป็นอย่างนี้ อุเบกขาๆครับ
แล้วหลวงตาก็พูด"ถ้าจะไปนิพพานอย่าเอาอะไรไปสักอย่าง
เราตอบขึ้นมาด้วยเสียงหนักแหน่น
ใช่ครับหลวงตา ถ้าจะไปนิพานอย่าเอาอะไรไปสักอย่าง อย่ายึดติดวัตถุสิ่งของที่อยู่ในโลก อย่าเอาจิตไปยึดเดี๋ยวมันจะไม่ได้ไป

แล้วหลวงตาเอากล้วยเหลืองทองกล้วยสวยมากสวยกว่าในโลกในตลาด เอาให้1อันไปเล็กไม่ใหญ่พอดี เราก็เลยนั่งฉันกล้วย รสชาติกล่มกล่อมไปหวานมาก หอม คืออร่อยมากรสชาติไม่เหมือนกล้วยในโลกนะ แล้วก็เลยมองดูหลวงตา หลวงตายืนฉันกลั้วย กัดได้คำหนึ่งแล้ว
(่เราคิดในใจ เอ้หลวงตายยืนฉัน ผิดวินัยหรือเปล่า หรือว่าหลวงตาแก่แล้ว ไม่รู้วินัย)
เราเห็นหลวงตายืนฉันกล้วยแบบนั้นแล้วก็เลยเฉย ไม่เตือน (เพราะเป็นคนไม่ชอบเตือนใครไม่อยากยุ่งกับใครหนา แล้วแต่เขาหนา)
แล้วหลวงตาก็มานั้ง แล้วก็มีโยมชาวบ้านประมาณต่ำกว่า15คนมาเข้าใจว่ามาเล่นกับหลวงตาและมาถวายปิ่นโตอาหาร (ในความฝันรู้สึกว่าเป็นชาวบ้านโนนผักหวาน) มองไปดูชาวบ้านเห็นยกถ้วยน้อยขึ้น(เข้าใจว่าถ้วยใส่แจ่วแน่ๆแล้วมองข้ามชาวบ้านไปก็เห็นเป็นน้ำ เราอยู่บนบก
(หลวงตาไม่ยิ้มสักตอน หน้าแบบเอาจริง) หลวงตาผิวขาวไม่เหมือนคนแก่แต่ก็แก่อยู่แต่ไม่แก ผิวพรรสดใสสุขภาพเหมือนจะดี)

_______________

ประวัติช่วงก่อนบวช

พระมงคลชัย กิตติโสภโณ


ประวัติพระ มงคลชัย กิตติโสภโณ

>>ตอนเป็นโยม<<

สมัยเรียนตอนเด็กๆ ชอบขึ้นไปอยู่บนต้นไม้ ชอบอยู่คนเดียว ไม่ค่อยชอบเล่นกับเพื่อน

ชอบทำอะไรแปลกๆ ที่คนอื่นเขาไม่ทำ เป็นคงเกร่งใจคนอื่นมาก

พอขึ้นมัธยม ใจมันยิ่งชอบสันโดด

ไม่ชอบอะไรเลยที่มันวุ่นวาย ชอบอยู่เงียบๆ เวลาอยู่กับเพื่อนมันรู้สึกว่าใจมันเข้ากับเพื่อนไม่ได้เลย คือมันอยากอยู่คนเดียว แต่ถ้าอยู่คนเดียวเขาจะหาว่าเป็นบ้า ก็เลยต้องไปกับเขา และรู้สึกว่าไม่ค่อยเบียดเบียนคนอื่น หรือแทบไม่เบียดเบียน ไม่ค่อยมีความโกรธ เกลียดอาฆาตพยาบาทเลย หรือแทบไม่มี มันไม่ชอบคิดอะไรที่ทำให้ใจไม่สบายใจเลย เวลามีเรื่องทุกข์ใจอย่างเช่นอกหัก 2-3 วันหายปกติเลย 

เวลาที่ต้องฆ่าสัตว์โดยคนอื่นใช้เรา

คือจะทำอาหารไปถวายพระบ้าง งานต่างๆบ้าง หรือทำกินเองในบ้าน ได้ยินอย่างนั้นแล้ว โอ้ยกูคึบ่อยากฆ่าแท้น้อ ย่านบาปเด้ๆ จนมันเอามีดปาดคอไก่เป็น

มามองกลับไปตอนเด็กแล้วมันรู้สึกว่าที่ผ่านมา

มันบำเพ็ญขันติบารมีนี่หน่า

เมตตาบารมีด้วย เห็นสัตว์ไม่มีทางออก ก็จะช่วยเลย

และดูเพิ่มเติมใน facebook แนวคิดทิฏฐิ


เรื่องเริ่มต้น ของการได้ออกบวช

ก็คือมาจาก การบนบวชกับ...?

คือช่วงนั้นพ่อป่วยเป็นมะเร็งตับ

แม่ไม่รู้จะทำยังไง ก็เลยพาไปจุดธูป บนบานให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ช่วย ช่วยให้พ่อหาย

ไอเราก็เป็นคนเชื่อฟังแม่ ก็ทำตามแบบไม่ขัดขืน ยอมกล่าวบนบาน ถ้าหากว่าหาย จะบวชอุทิศบุญให้


หลังจากนั้นผ่านไป ประมาณครึ่งปี พ่อก็ตายลง



หลังจากที่พ่อตายแล้ว เวลาผ่านไปๆเรื่อยๆ

จนถึงอายุครบ 20 ปี 

แม่ก็มาคุย "อายุครบ 20 ปีแล้วนะลูก

ถึงเวลาบวชแล้ว และบวชแก้บนด้วย และก็เป็นการได้บวชตมประเพณีด้วย สัก 1 พรรษา"


เราก็เฉยๆ เอ้าบวชก็บวช (คือเป็นคนว่าง่าย)

ถือเป็นการบวชแก้บนด้วย

บวชตามประเพณีด้วย แค่ 3 เดือนกว่า 90 กว่าวันคงไม่ตาย

เดี๋ยวก็ได้สึกออกมาแล้ว  

และพอหลังสึกเราจะไปเรียนช่างซ่อมคอม-มือถือ (วางแผน)

และบวชก่อนเอาเมียแม่พ่อจะได้บุญเยอะ

ถ้าเอาเมียแล้วบวช เมียจะไดบุญด้วย พ่อแม่จะได้น้อย

 ok บวชช่วงนี้ก็บวช ถือว่าจะได้ไม่เป็นอับปะมงคลแก่ชีวิตด้วย ! (ความเชื่อตอนนั้น)


ก็เลยได้บวชช่วงก่อนเข้าพรรษา บวชวันที่ 7 กรกฏาคม 


ก็อยู่มาเรื่อยๆ รู้สึกว่าได้นอนน้อย 3 ทุ่มครึ่ง นอนดึก ตื่นตี 3 กว่า 

รู้สึกเพีย แต่ก็อดทน จนวันเวลาล่วงมา 70 กว่าวัน

ความคิดในหัว เริ่มเปลี่ยนไป ออกพรรษา ที่ ๑. (ความคิด ภายในจิตใจ เริ่มเปลี่ยนทิศทางอยากจะสึก

แล้วไปบวชอยู่วัดป่า


ช่วงพรรษาแรก ออกพรรษาใหม่ๆ

ทิสเกมส์ยังบ่สึกเลยตอนนั้น


ทิศเกมส์ : "ถ้าสิสึก กะเข้าไปบอกเพิลเด้อ"


ตอนนั้น อืม.. ?? ลังเล จะเอาไงดี ใจหนึ่งก็อยากสึก

เฮาอยากจะสึก.. สึกออกไปสักสามวันหรือเจ็ดวัน

แล้วหลังจากนั้น ไปบวชวัดป่า..


แต่ไม่กล้าสึกเพราะกลัวจะไม่ได้บวชอีก

แม้สึกปุ๊บ วันต่อมาบวชปั๊บ

เราก็ไม่กล้าเสี่ยง


เราเคยคิดจะสึก แล้วบวชต่อในวันถัดมา ห

เราก็ไม่กล้า เพราะนั่นยังประมาทอยู่

เพราะไม่มีอะไรมารับประกันว่า สึกแล้วจะได้บวชอีก

ไม่มีเลย


แม้จะวางแผนไว้แล้วว่า สึกวันจันทร์ ไปบวชวัดป่าวันอังคารต่อเลย ถ้ามันไม่เป็นไปตามนั้นละ

 

ขึ้นชื่อว่ากายหลุดจากผ้าเหลืองแล้ว สมณะสัญญาก็จะคลายหายไป(ความกำหนดหมายว่าเราเป็นสมณะ)


และสิ่งที่จะมาล่อใจให้ติดไปกับกามคุณ๕ นั้น มันอาจจะมาเป็นแน่ มาเป็นขบวน


เผลอๆ หญิงเนื้อคู่เก่า อาจมาเจอกันกับเรา

ตาต่อตา จิตต่อจิต มันก็จะไม่ได้ไปแต่งงานกันเหรอ


ดังนั้นจึงไม่กล้าสึกแม้วันเดียว


#พระอรหันต์ทุกๆพระองค์

ล้วนบำเพ็ญเนกขัมมะบารมี มาหลายภพชาติ

ถ้าขาดเนกขัมมะบารมีจะบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ไม่ได้เลย


บุคคลที่บวชแล้ว ใจแข็งไม่ยอมสึก

นำกายนำใจไม่ให้ติดในรูปเสียงกลิ่นรสสัมผัส

ย่อมได้เนกขัมมะบารมี


เมื่อพยายามออกจากกาม ปัญญาย่อมเกิด

ใจย่อมสว่าง  

 เปรียบเทียบได้เลยว่าสุขจากการที่มีใจสว่าง  

มันดีกว่า สุขจากการได้เห็นสิ่งที่ถูกใจ

เช่น เห็นแฟนน่าหล่อ น่าสวย กำลังถือดอกไม้จะนำมาให้

มันดีกว่าสุขจากการมีเสียงอันชอบใจเข้าหู

มันดีกว่าสุขจากการมีกลิ่นหอมๆโชยมาถูกจมูก

มันดีกว่าสุขจากการที่รับประทานอาหารอันมีรสชาติถูกใจพญาลิ้น แซบเว้อคัก

มันดีกว่าสุขจากการ ได้ถูกต้องสิ่งที่นุ่มนิ่มน่าพอใจ


สุขเช่นนี้ เป็นสุขที่ไม่ควรกลัว


ธรรมใดเป็นไปเพื่อจมไปกับกามคุณ๕

เราอย่าได้ยึดติดธรรมนั้นเลย

เพราะคือเหตุเกิดทุกข์


#สุขบ้าง ทุกข์บ้าง ยังไม่ชื่อว่าพ้นทุกข์


พระในวัดนี้เราก็ไม่รู้ว่า พวกท่านบวชมุ่งอะไร?


ท่านบวชเพื่อมรรคผลหรืออะไร


แต่กระผมบวชตอนแรก

เมื่อ (๗ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๕๗)

ก็อยู่มาเรื่อยๆ จนออกพรรษา

ก็ได้ ๑ พรรษา


ออกพรรษาแล้ว

ผมมีความคิดว่าจะสึกออกไป แล้วปล่อยเวลาไป๓วันไปบวชวัดป่าต่อ


แต่สุดท้ายก็ไม่ได้ไป...


จนอยู่มา ๒ พรรษา..


จนอยู่มา ๓ พรรษา..


ผลการปฏิบัติกรรมฐาน

ที่ผ่านมา

มันทำให้ผมอยากจะหลุดพ้นมาก


เวลาเดินบิณฑบาตอยู่ บางทีมันก็ขึ้นมา


"อาการทางใจที่อยากหลุดพ้นเต็มที" เมื่อมีอาการนี้มันมีแต่จะไม่สนใคร


#แม้อาจารย์ไกร ก็บอกว่า อาการนี้ก็เคยเกิดขึ้นกับท่าน"


นี่มันเกิดขึ้นกับเราครั้งแรกชวงยังไม่เข้าพรรษา๒ด้วยซ้ำ

อาการนั้นเมื่อเกิดขึ้นที่ใจแล้ว

มันอยากบรรลุธรรมมากเหลือเกิน


เกิดขึ้นครั้งใด มันจะไม่สนใคร มีแต่อยากจะหลุดพ้น 

เราถึงกับต้องออกไปป่าช้าคนเดียว


แม้ตอนนี้ใจมันก็ดิ้น อยากจะออกไปบำเพ็ญเพียร

ก็ไม่รู้ว่าจะอยู่ได้ถึงปีใหม่ไหมนะ


#เมื่อก่อนห่วงงานเอกสาร

แต่ตอนนี้ไม่ห่วงแล้ว


ห่วงตนเองมากกว่า (นี่คือศรัทธา)เกิดมาไม่รู้กี่ภพกี่ชาติตายไปไม่รู้จักจบจักสิ้น


ถ้าคนหรือเทวดาที่ ไม่เห็นภัยในสังสารวัฏ

ก็อย่าได้ขัดขวางกันเลย


พระทุศีล คือพระไม่มีศักดิ์ศรี

เราพูดกระทบเรา "


เราจะไปทำให้ตนเองมีศีลบริสุทธิ์และหลุดพ้นให้จงได้ ภายในชาตินี้ ก่อนที่กายนี้มันจะแตกดับทำลายคืนสู้ดิน


ถ้าไม่ใช่พระอรหันต์ อย่าพึงดีใจ

อย่าพึงนอนใจเลย เตือนตน..!!


เวลาหมดแล้วหมดเลยนะ


เกิดมาพบพุทธศาสนา

ควรแท้ที่จะ "ศึกษามรรคภาวนา"

ให้เป็น 


>ใครชอบสมาธินำปัญญา

"หลวงพ่อพุธ ฐานิโย" 

"หลวงปู่เทส เทสรังสี"


ใครชอบปัญญานำสมาธิ

"หลวงพ่อปราโมทย์ ปราโมทยโช"


84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=16&A=4431&Z=4451


_______________________

ฝันว่าได้เดินออกจากบ้าน เห็นหลวงตาบัวตื่นแล้ว(ในความฝันตั้งว่าจะเดินไปทางลวงตานี่แหละ แต่ทำตัวว่าจะทำตัวเป็นว่าตื่นเช้า

แล้วเดินไปเข้าทางป่าทางซ้ายเดินเดินขึ้นไปบนถนนขอบหนอง แล้วเจอบ้านหลังหนึ่งอยู่ด้านซ้ายมือเหมือนมีคนอยู่ เปิดไฟไม่ค่อยสว่างชัดนัก เหมือนใช้ตะเกียง

เราก็เลยเดินต่อไปแล้วก็เห็นหนองอีกหนองหนึ่ง หนองนั้นมืดมากๆๆๆๆๆ เราเดินยังไม่ถึงนะแต่เกือบจะถึงแล้ว สายตามันทอดไปเห็นก่อนหนองนั้นมืดมากๆๆเป็นสี่เหลี่ยมใหญ่กว่าหนองแลก เราเลยเดินกลับพอเดินกลับมองไปที่บ้านหลังนั้นเหมือนกุฏี ก็มีไฟอยู่เหมือนเดิม แล้วก็เดินๆความมืดมันก็ตามมาข้างหลังคลุมยังไม่คลุมเรานิดเดียวคลุมทางที่จะเดินต่อนิดเดียว เห็นทางยังชัด95% แล้วก็ไปเจอทางขาด (ในความฝันเอ้าทางขาด มันขาดมาตั้งแต่เดิมแล้ว

เราก็เลยเดินลงไปจะข้ามทางแบบไม่คิดว่ามันจะลึกเลย พอลงไปแล้วน้ำเพียงหำ น้ำสีดำมืดไหลไปทางสระน้ำธรรมดาแล้วก็เดินลุยไปๆขึ้นทางที่มันขาดเดินไปไม่ค่อยนานก็เจอหลวงตาหลวงตาบัว ปากฏว่าทางขาด มีน้ำไหลเชี่ยวเกือบถึงเพียงหำ เราก็ลงไปก็ตกใจ โอ้น้ำคึลึกแท้คิดในใจ แล้วก็เดินผ่านไป

เห็นหลวงตานั้งเล่นอยู่ เหมือนหลวงตาตื่นนานแล้วออกมานั้งเล่น หรือฝีกแดด แต่อากาศมันไม่ร้อนไม่หนาวนะ เราก็เดินเข้าไปหาหลวงตา

ถาม หนาวบ่อครับหลวงตา

กะหนาวยุ บางวันเอาน้ำอุ่นเช็ดตัว

แล้วก็คุยกับคนดูแลหลวงตา(เป็นผู้ชาย)บอกว่าบางวันผมล้างแค่หน้าเอง

เราตอบผมแฮงล่างแค่ตา พร้อมกับทำท่าใช้นิ้วล้างแค่ตา

แล้วหลวงตาก็พูด

ตายนี้ไม่กลัวนะ มีแต่ธรรมเต็มหัวใจ จะไปนิพพาน

จะไปนิพพานไม่ต้องเอาอะไรไป(ให้ละให้หมด)

หลวงตาถาม ห่วงนางนาคไหม รักนางนาคไหม แล้วคนดูแลหลวงตาก็พูดเสริมขึ้น

"ตอนนี้นางนาคโดนเขาจับโดนทำร้ายอยู่ จะช่วยนางนาคไหม

("ในความฝันภาวะนี้ เหมือนกับว่าทั้งหลวงตาและคนดูแลหลวงตา คิดว่าเราผูกพันกับนางนาคอยู่ แต่เราไม่รู้นางนาคคือใคร

และก็นางนาคคือใครนางนาครักเราอยู่หรอ ในความฝันนะคิดว่านางคาครักเราเหร่อรักกันเหร่อ ถึงต้องไปช่วย มันมีความรู้สึกแบบนั้นจริงๆนะ ก็เลยมาคิดแล้วปุ๊บขึ้นมา

นางนาคคือแม่เรานี้แน่ๆ มันคิดอย่างนี้จริงๆในฝัน ไม่มีหญิงไหนอีกแล้วเกี่ยวข้องกับเรา พอคิดปุ๊บก็เห็นภาพโยมแม่ในนิมิต ใส่เสื้อสีน้ำเงินเสื้อกันหนาวสีน้ำเงิน)

)

เราก็เลยตอบหลวงตา "หลวงตาครับมีประมาณ2อย่างครับ ถ้าจะช่วยก็คือช่วยด้วยความเมตตา

หรือ2ก็ถือว่าเป็นกรรมมเก่าของเขาที่ทำให้เขา ได้รับผลออกมาเป็นอย่างนี้ อุเบกขาๆครับ

แล้วหลวงตาก็พูด"ถ้าจะไปนิพพานอย่าเอาอะไรไปสักอย่าง

เราตอบขึ้นมาด้วยเสียงหนักแหน่น

ใช่ครับหลวงตา ถ้าจะไปนิพานอย่าเอาอะไรไปสักอย่าง อย่ายึดติดวัตถุสิ่งของที่อยู่ในโลก อย่าเอาจิตไปยึดเดี๋ยวมันจะไม่ได้ไป


แล้วหลวงตาเอากล้วยเหลืองทองกล้วยสวยมากสวยกว่าในโลกในตลาด เอาให้1อันไปเล็กไม่ใหญ่พอดี เราก็เลยนั่งฉันกล้วย รสชาติกล่มกล่อมไปหวานมาก หอม คืออร่อยมากรสชาติไม่เหมือนกล้วยในโลกนะ แล้วก็เลยมองดูหลวงตา หลวงตายืนฉันกลั้วย กัดได้คำหนึ่งแล้ว

(่เราคิดในใจ เอ้หลวงตายยืนฉัน ผิดวินัยหรือเปล่า หรือว่าหลวงตาแก่แล้ว ไม่รู้วินัย)

เราเห็นหลวงตายืนฉันกล้วยแบบนั้นแล้วก็เลยเฉย ไม่เตือน (เพราะเป็นคนไม่ชอบเตือนใครไม่อยากยุ่งกับใครหนา แล้วแต่เขาหนา)

แล้วหลวงตาก็มานั้ง แล้วก็มีโยมชาวบ้านประมาณต่ำกว่า15คนมาเข้าใจว่ามาเล่นกับหลวงตาและมาถวายปิ่นโตอาหาร (ในความฝันรู้สึกว่าเป็นชาวบ้านโนนผักหวาน) มองไปดูชาวบ้านเห็นยกถ้วยน้อยขึ้น(เข้าใจว่าถ้วยใส่แจ่วแน่ๆแล้วมองข้ามชาวบ้านไปก็เห็นเป็นน้ำ เราอยู่บนบก

(หลวงตาไม่ยิ้มสักตอน หน้าแบบเอาจริง) หลวงตาผิวขาวไม่เหมือนคนแก่แต่ก็แก่อยู่แต่ไม่แก ผิวพรรสดใสสุขภาพเหมือนจะดี)

__________________

ฝันว่า ในหลวงมาให้พร อะหังนิจ นิจทุกโขโหมิ

ขอให้มีความสุข ความเจริญ สุขภาพร่างกายแข็งแรง

______

นิทาน..


กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว

มีเด็กหนุ่ม3คน เป็นเพื่อนกัน


วันหนึ่งมารดาใช้ให้เด็กคนนั้นไปหาเก็บผลไม้ในป่าเพื่อนำมาประกอบอาหารเย็นมื้อแรกและเพื่อมื้อที่สองตอนเช้า


เด็กคนที่หนึ่งนั้นมีความคิดว่า"เราควรจะชวนเพื่อนไปเก็บด้วยกันดีกว่า" จึงเดินไปเรือนของเพื่อน

แต่เพื่อนไม่อยู่ เขาจึงเดินไปเรือนของเพื่อนคนที่2 แต่เพื่อนคนที่2ก็ไม่อยู่อีก

เขาจึงมีความคิดว่า"เพื่อนเราไปไหนน่ะ ไม่อยู่ตั้ง2คนเลย"

เขาจึงไปเก็บผลไม้ตามที่มารดาสั่งไว้


และในขณะที่เก็บผลไม้อยู่ เขาเห็นพระเหาะลงมาจากท้องฟ้า และลงเดินตรงมาหาเขา เหมือนมาขออาหาร

เด็กคนนั้นไม่รู้จะทำยังไง

เลยยื่นผลไม้ที่เก็บนั้นใส่ในบาตให้

และทันใดนั้นพระปัจเจกก็เหาะขึ้นเหนือยอดไม้และหายไป


และเด็กคนนั้นครั้นให้ทานไปแล้วเขาก็เริ่มหาเก็บผลไม้อีกครั้ง จิตใจก็เกิดความเสียดาย หลังจากนั้นเขาก็นำผลไม้ที่เก็บได้ไปให้มารดาประกอบอาหาร


ผ่านไป7วัน เด็กคนนั้นนำผลไม้ไปขาย

ขายได้เงินเยอะมากจนไม่น่าเชื่อว่าผลไม้น้อยนิดเดียวขายได้เงินมากกว่าทรัพย์ในหวังหลวงทั้งหมด


เขาเกิดแปลกใจ ว่าทำไมได้เงินเยอะจัง


เขาจึงไปถามมารดา มารดาก็ไม่รู้สาเหตุ

มารดาก็เลยย้อนถามว่า ช่วงไม่นานมานี้ลูกได้ให้อาหารกับใครไหม


เด็กคนนั้นก็ตอบว่าได้ให้อาหารกับคนหัวโล้นเหาะลงมาขอในป่าตอนเก็บผลไม้


มารดาจึงตอบว่า

ที่ขายผลไม้ได้เงินเยอะนั้น

เพราะทานกับพระปัจเจกพุทธเจ้าลูก


มารดาถามต่ออีกว่า ท่านจะมาโปรดอีกวันไหน

ลูกตอบว่าไม่ได้คุยกันจ่ะ


หลังจากผ่านวันนั้นไปเด็กคนนั้นรวยมีทรัพย์มากมายนับไม่ได้

เขาจึงเรียกเพื่อนๆมาเล่นที่บ้านมากินอาหารให้อิ่มหนำแล้วค่อยไปเล่น


หลังจากนั้นพวกเพื่อนๆก็ถามเขาว่ามีโภคทรัพย์เยอะได้อย่างไร


เขาจึงตอบว่า ทานผลไม้กับพระเหาะได้


เพื่อนถามเขาต่ออีกว่า ทานที่ไหน เขาตอบว่า ที่ป่า

เพื่อนถามเขาต่ออีกว่า ตรงไหน เขาตอบว่า

เดี๋ยวพรุ่งนี้จะพาไปดู


หลังจากนั้นวันต่อมาเขาได้พาเพื่อนไปดูตรงจุดที่พระปัจเจกเดินมาและเหาะทะลุขึ้นบนยอดไม้แล้วหายไป


เพื่อนของเขา2คนนั้น อยากเห็นพระปัจเจกจึงอธฐานในใจ ขอให้พระปัจเจกเหาะลงมาโปรดด้วยเถิด

หลังจากนั้นเขาจึงนัดแนะกันว่าจะมารอที่นี่ทุกวันหลังเก็บผลไม้แล้ว


ไม่นานผ่านไป3เดือนมีพระปัจเจกเหาะลงมาและเดินมาขออาหารตามที่เขาตั้งจิตอธิฐานไว้


เขาจึงชวนเพื่อนๆถวายผลไม้และถามท่านว่า ท่านชื่ออะไรเหาะได้ยังไง

และวันนั้นเอง มีคนตายชาวบ้านเอา

ชาวบ้านเอาศพมาทิ้ง

พระปัจเจกเลยบอกให้ ไปถามชื่อกับคนตายที่เขาหามมาทิ้ง


เด็ก3คนนั้น เลยเดินไปถามศพ ถามแล้วก็ไม่ตอบ จึงเดินไปถามพระปัจเจกว่าเขาไม่ตอบ

พระปัจเจกเลยบอกว่า ให้มานั้งดูเขามาถามเขาทุกวัน แล้วจะรู้เอง

แล้วพระปัจเจกก็เหาะหายไป


ส่วนเด็กนั้น ทำตามพระปัจเจกบอกก็มาถามทุกวัน 

ถามนานวันเข้า ศพก็เริ่มเน่าเปื่อยพองกลิ่นเหม็นขึ้นทุกวัน


จนในที่สุดเด็กคนที่1 พูดว่า "เรามามัวถามศพทำไม"

คนที่2พูดว่า "น่าเกลียด ไม่ถามแล้ว"

คนที่3พูดว่า" แม่เราจะต้องเป็นแบบนี้ไหม"

คนที่1ตอบว่า "แบบไหน"

คนที่3ตอบ "แบบเหม็นๆเน่าๆนี่ไง"

คนที่2ตอบ "คงต้องเป็นแบบนี้นี่แน่นอน"

คนที่1ตอบว่า "แล้วศพมันจะเป็นยังไงต่อไปอีก"

คนที่2ตอบว่า "มันจะเน่าและเหม็นแบบนี้ตลอดไป"

คนที่3ตอบ มันจะหายไป


"เด็ก3คนนั้นจึงนัดแนะกันมาดูศพนั้นทุกวัน

จนในวันสุดท้ายที่เด็กเห็นศพนั้นกลายเป็นโครงกระดูก และมีสัตว์ป่าเดินเหยียบกระดูกนั้นแตกลงกับดิน


และในชาตินั้นเด็ก3คนนั้นก็ไม่อยากแต่งง่าน เพราะเจริญอสุภะ มันติดเข้าในสัญญาความจำว่าผู้หญิงไม่มีจริงกระด๔กไม่มีจริง เราก็ไม่มีจริง แต่ด้วยถูกมารดาบังคับ เด็กใน3ครอบครัว นั้นถูกบังคับให้แต่งงาน เขาจึงต้องจำใจต้องแต่งงาน มีเด็กคนที่ยังไงก็ไม่แต่งจึงวางแผนชวนกันหนีไปอยู่ป่าสักพักให้เรื่องมันเงียบลงแล้วค่อยออกมา

แต่แล้วก็หนีไปไม่รอด1คน จึงถูกบังคับให้แต่งงานมีลูกสืบสกุล

อีก2คนหนีเจ้าป่าไปเจอพระ


หลังจากชาตินั้นมา เด็ก3คน ตายไปอยู่บนเทวโลก 

มาจุติลงมาเกิดเป็นมนุษย์

คนที่3บวชและสึกไปแล้ว

คนที่2กำลังบวชอยู

่คนที่3ยังไม่บวช

________

หญิงถามพระมงคลชัย กิตติโสภโณ

หญิง :แล้วเรานั่งสมาธิบางทีก็จิตใจก็คิดอย่างอื่นบ้างแต่เราก็ดึงกับคืนมาดูลมหายใจพอดูลมหายใจไปเรื่อยๆก็จะคิดเรื่องนั้นเรื่องนี้แต่ก็จะดึงกับมาอยู่แบบนี้โยมแม่เลยอยากถามว่าเราจะได้บุญหรือเปล่าเป็นแบบนี้แล้วเราอุทิดบุญคนตายจะได้รับหรือเปล่าค่ะคือไม่ค่อยเข้าใจว่าเวลานั่งใจเราคิดอย่างนั่งแล้วจะได้บุญไหมค่ะ

พระมงคลชัย กิตติโสภโณ ตอบ:Phanumat Phokaew โยมแม่ปฏิบัติถูกแล้วๆ โยมแม่นั้งสมาธิทำอานาปานสติ รู้ลมเข้าออก แล้วจิตโยมแม่มันเคลื่อนไปคิดเรื่องนู่นเรื่องนี่ แล้วก็เกิดสติรู้ขึ้นมาว่า อุ้ย..เมื่อกี้เผลอคิด     แล้วก็กลับมาที่รู้ลมหายใจ

แล้วสักพักจิตมันก็ไหลไปคิดอีก

และรู้ลมได้สักพักหนึ่ง ไหลไปคิดอีก 

โยมแม่ติดอยู่ขั้นนี้ใช่ไหม ตามที่อ่าน


ตอบ โยมแม่ทำถูกแล้วน่ะ ขณะที่เรารู้ลมจิตมันจะไหลไปคิดก็ช่างมัน แต่ให้มีสติรู้มัน

แล้วความคิดมันจะดับเอง

พอความคิดดับปุ๊บจิตมันจะตัดเข้าอุเบกขา หรือบางคนก็กลับมารู้ลมหายใจ (แล้วแต่จริตนิสัย)


โยมแม่เข้าใจเนาะ..

รู้ลม จิตไหลไปคิดก็รู้

้รู้แล้วกลับมาที่ลมหายใจ


(อย่าเพิ่งคิดแผ่บุญอุทิศบุญในเวลาปฏิบัติน่ะ  คิดแค่ว่าปฏิบัติบูชาพระพุท พระธรรม พระอริสงฆ์

____________

.มาฮ้อดวัดหนองยอแล้วเด้อ ถ้าจะมาสนทนาธรรมกะมาเด้อ

แต่อย่ามาหาถามเลขถามหวย ถามเรื่องทางโลก เรื่องทางธรรมถา

มมาโหล้ด เป็นหยังปานนี้คึยังบ่สึก ถามโหล้ด แต่อย่าถามเรื่องโลกเช่น

ดาราคนนี้งามบอ เพลงนั่นมวนบอ หนังเรื่องนั้นมวนบอ ฯลฯ อย่าถาม

# จิตใจอาตมา มันบ่คือเก่า

คำเว้าคำจา ท่าทางกิริยามารยาท สำรวมไว้ดีที่สุด

(ป้ายอยู่หน้าวัดหนองป่าพง เพิลเขียนไว้ประมาณว่า สตรีบ่สำรวม บ่

เป็นตาเบิ่ง)

อาตมาว่า สตรีนุ่งสั้นเข้าวัด ตะน่าสมเพดคัก

ดังนั้นอย่านุ่งกระโปงมา

ครูคอมเม้น : ค่ะหลวงพี่.  วันเสาร์เด้อค่า เปิดเทอมแล้วค่ะ

พระมงคลชัย กิตติโสภโณ คอมเม้นตอบ :วันเสาร์ มาช่วงใด๋คิดไว้ล๋ะเบาะ  แมนคิดไว้แล้วกะเด้ย   วันศุกร์จั่งคิดใหม่อีกแทหนึ่ง   อนาคตบ่อแนนอน

ครูคอมเม้น :ว่าจะไปถวายปิ่นโตเพลค่ะ บ่น่าจะเปลี่ยนแผนค่ะ 

______________

ถ้าใครย้ากรู้ว่า ทำไมหลวงพี่เป็นอย่างนี้ หลวงพี่เป็นบ้ารึเปล่า?

หลวงพี่จะเล่าให้ฟังก็ได้ว่าทำไมหลวงพี่เป็นแบบนี้

ย้อนกลับไปจุดเริ่มต้นน่ะ

>หลังจากที่หลวงพี่บวชเข้าไปแล้ว ประมาณ 2 อาทิตย์

คือมานึกตอนนี้ มีุญเหลือเกินที่ตอนนั้นได้ไปเจอวิดีโอในยูทูป เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน 

m.youtube.com/watch?v=RnHY97GSbV0


และได้ฟังจนจบ ทำให้ชีวิตเปลี่ยนไป

และพอฟังจบ มีบุญอีกแล้ว ได้ไปเจอธรรมะ หลวงพ่อฤษีลิงดำ ตอนเทศโปรดเทวดา ก็ฟังจนจบ ฟังจบแล้วเข้าใจว่า เอ่อถ้าอยากจะเห็นเทวดาต้องเข้าฌาน4รึ

หลวงพี่ก็เลยอยากเห็นเทวดา เป็นตัวยังไงน่ะ จะเหมือนในรูปวาดในวัดไหม?


หลวงพี่ก็เลยหาคลิบพระเทศที่เกี่ยวกับสอน เรื่องฌาน ก็ฟังไปๆ เข้าใจว่า อ่อมันต้องนั้งสมาธิทำจิตใจให้สงบก่อน

ก็ไปนั้งๆๆๆๆนั้งๆๆๆ นั้งไปนั้งมาจิตมันสงบแจ่มใส อิ่มประมาณว่าไม่ต้องกินข้าวก็ได้1วัน2วัน3วัน คือมันอิ่มมากๆๆ

ก็เลยไปหาข้อมูลต่อต้องทำยังไงต่ออีก หลังจากจิตมันสงบแล้วแล้วอิ่มสมาธิไม่เจ็บไม่ปวด มีความสุขเหลือเกิน ถ้าจะเปรียบเทียบความสุขกับที่ผ่านมาในชีวิตตั้งแต่เกิดนี้ สู้นั้งสมาธิไม่ได้เลยแม้แต่นิดเดียว

หลังจากนั้นก็ศึกษา ศึกษาไปศึกษามา "เข้าใจว่าถึงจะได้ ฌานสมาบัติ ก็ต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ 

ก็เลยไปศึกษาเรืองการเวียนว่ายตาเกิด พอศึกษาก็เข้า มนุษย์ และสัตว์ ทุกสิ่งทุกข์อย่าง แม้แต่เทวดาก็ต้องเวียนว่ายตายเกิดหรอเนี่ยะ 

ก็เลยศึกษาต่อ ทำยังไงถึงจะไม่ต้งเวียนว่ายตายเกิด ได้ความว่าต้อง สำเร็จเป็นพระอรหันต์ เข้าสู้นิพพาน

ก็เลยมาหาข้อปฏิบัติให้เป็พระอรหันต์ ได้ความว่าต้องผ่านสังโยชน 10 ข้อ ไปให้ได้

ก็เลยมาเริ่มกรรมฐาน อสุภะกรรมฐาน หลวงพ่อฤษีลิงดำ และหลงตาบัว เป็นคูบารอาจารย์ youtube ในการปฏิบัติ

ก็เลยเพ่งอสุภะ เพ่งจนเป็นทีน่าพอใจ จนมีความเห็นว่าร่งกายเรานี้มีแต่กระดูก คนสัว์ทังโลกก็เหมืนกัน อีกไม่นานก็จะตาย เปลี่ยภพภูมิกัน แล้แต่บุญกับบาป 

____________________

อิกะวิติ

________

ขอให้ข้าพระเจ้านาย-นาง จงเป็นผู้ไม่มีเวร


อย่าได้มีความอาฆาสพญาบาติและเบียดเบียน


อย่าได้มีความทุกข์กายทุกใจ


ขอให้มีแต่ความสุขตลอดไป


ขอให้มารดาบิดาครุูบารอาจารย์


ญาติสนิทมิตรสหาย


พร้อมทั้งเพื่อนประพฤพรมจันทร์

ทั้งหลายของข้าพระเจ้า

 ที่กำลังรักษาศีลเหมือนข้าพระเจ้า


จงอย่าได้มีเวร


อย่ามีความอาฆาส


พญาบาทและเบียดเบียน


อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจ


ขอให้มีแต่ความสุขตลอดไป


ขอให้ผู้บำเพ็ญเพียรทั้งปวง


จงอย่าได้มีเวร

 อย่าได้มีความอาฆาสพญาบาท

และเบียดเบียน


อย่าได้มีความทุกข์กายทุกใจ


ขอให้มีแต่ความสุขตลอดไป


ขอให้ผู้บำเพ็ญเพียรทั้งปวง


จงอย่าได้มีเวร

อย่าได้มีความอาฆาสพญาบาท

และเบียดเบียน


อย่าได้มีความทุกกายทุกใจ


ขอให้มีแต่ความสุขตลอดไป


ขอให้พระภิกษุสามเณร


อุบาสก อุบาสิกา ทั้งปวง

จงอย่าได้มีเวร 


อย่าได้มีความอาฆาส


พญาบาทและเบียนดเบียน


อย่าได้มีความทุกกายทุกใจ


ขอให้มีแต่ความสุขตลอดไป 


ขอให้ผู้มอบปัจจัยสี่ให้แก่ข้าเจ้า

จงอย่าได้มีเวร

 อย่าได้มีความอาฆาสพญาบาทและเบียดเบียน 


อย่ามีความทุกขกายทุกใจ


ขอใ้ห้มีแต่ความสุขตลอดไป

 ขอให้เล่าเทวดาอารักที่อารักขาข้าพระเจ้า


และเหล่าเทวดาอารักที่อยู่ในวิหาร อาวาส อารามทั้งหลายทั้งปวง


 จงอย่าได้มีเวร อย่าได้มีความอาฆาสพญาบาทและเบียดเบียน


อย่าได้มีความทุกขกายทุกใจ


 ขอใ้ห้มีแต่ความสุขตลอดไป


ขอให้สัพสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง


 สิ่งที่มีชีวิตทั้งหลายทั้งปวง ภูตทั้งหลังหลายทั้งปวง


บุกคลทั้งหลายทั้งปวง


สัตว์ที่แน่นด้วยอัตภาพ

ทั้งหลายทั้งปวง


 หญิงทั้งปวง ชายทั้งปวง


 พระอริยะบุคคลทั้งปวง


 ปุถุชนทั้งปวง เทวดาทั้งปวง

มนุษย์ทั้งปวง


 สัตว์นรกอสูรกายทั้งหลายทั้งปวง


 จงอย่าได้มีเวร

 อย่าได้มีความอาฆาสพญาบาทและเบียดเบียน


อย่ามีความทุกกาย ทุกใจ


ขอให้มีแต่ความสุขตลอดไป

 ขอสัพพสัตว์ทั้งหลายผู้มีกรรมเป็นของๆตน


 จงพ้นจากความทุกข์ย้ากลำบาก จงอย่าพัดพรากจากสมบัติ

คือความสุขความเจริญในธรรม

ที่ตนจะพึงได้

 ขอสัพพสัตว์ทั้งหลายผู้มีกรรมเป็นของๆตน

ที่อาศัยอยู่ในทิศบูระพา

ในทิศปัจฉิม

ในทิศอุดร

ทักษิณ

อาฆะเน

พายัพ

อิสาน

หอฤดี

ในทิศเบื้องล่าง

ในทิศเบื้องบน

ขอให้สัตว์ทั้งหลาย สิ่งที่มีชีวิตทึ้งปวง ภูตทั้งปวง

บุคคลทั้งปวง สัตว์ที่แน่นด้วยอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง

หญิงทั้งปวง ชายทั้งปวง พระอริยะบุคคลทั้งปวง ปุถุชนทั้งปวง เทวดาทั้งปวง มนุษย์ทั้งปวง สัตว์นรกอสูรกายทั้งหลายทั้งปวง จงอย่าได้มีเวร อย่าได้มีความอาฆาสพญาบาติและเบียดเบียน

อย่ามีความทุกกายทุกใจขอให้มีแต่ความสุขตลอดไป

ขอให้สัพสัตว์ทั้งหลายผู้มีกรรมเป็นของๆตน จงพ้นจากความทุกย้ากลำบาก

จงอย่าพัดพรากจากสมบัติคือความสุขความเจริญที่ตนจะพึงได้

ขอให้สัพสัตว์ทั้งหลายผู้มีกรรมเป็นของๆตน

เบื้องบนไปจนถึงละวักกะพรม

เบื้องล่างไปจนถึงอเวจีมหานรก

โดยรอบแห่งจักรวาร

ขอให้สัพสัตว์ทั้งหลายที่ท่องเที่ยวไปบนแผ่นดิน

จงอย่ามีความอาฆาสพญาบาติและเบียดเบียน

ปราศจากเวร ปราศจากทุกข์

ปราศจากอันตรายทั้งปวง

ขอให้สัพพสัตว์ทั้งหลายผู้มีกรรมเป็นของๆตนเบื้องบนไปจนถึงละวักกะพรม

เบื้องล่างไปจนถึงอเวจีมหานรก

โดยรอบแห่งจักวาล

ขอให้สัตว์ทั้งหลายที่ท่องเที่ยวไป

ในน้ำ จงอย่ามีความอาฆาสพญาบาติและเบียดเบียน

ปราศจากเวร ปราศจากทุกข์

ปราศจากอันตรายทั้งปวง

ขอให้สัพสัตว์ทั้งหลายผู้มีกรรมเป็นของๆตน เบื้องบนไปจนถึงละวักกะพรม

เบื้องล่างไปจนถึงอเวจีมหานรก

โดยรอบแห่งจักวาล


ขอให้สัตว์ทั้งหลายที่ท่องเที่ยวไปในอากาศ จงอย่ามีความอาฆาสพญาบาติและเบียดเบียน

ปราศจากเวร ปราศจากทุกข์

ปราศจากอันตรายทั้งปวง

____________________
ฝึกดูจิต ว่ามันเป็นอย่างไร
มันเศร้าหมอง ก็รู้ว่ามันเศร้าหมอง
มันผ่องใสก็รู้ว่ามันผ่องใส
มันเจ็บมันปวด หมองใดกะตามเด้อ
สมมุติว่าปวดยุขา กะใช้จิตเฮาเบิงขาหมองมันเจ็บนั้นละ
ปวดยุขาเจ็บยุขาแมนบอ
ในขานั้นมันเป็นหนังแมนบอ


ศีลบารมี รักษาศีล5อย่าให้ขาด อย่าให้ด่างพล้อย ด่างพลอยคือสมมุติเราเดินไปเดินไปเยียบมดตายโดยที่ไม่รู้ตัว ยั่นแหละด่างพลอย แต่ว่าถ้าเห็นๆอยู่ว่ามด ยังไปเยียบมัน อันนี้เขาเรียกว่าศีลขาด ปาณาติปาตา ขาดแล้ว

2 อทินนา

ศีล ๕ ข้อที่ ๑ เพิลให้หลีกเว้นการฆ่าสัตว์ ถ้าเราบ่หลีกเว้น ฆ่าได้หมดสัตว์น้อยสัตว์ใหญ่ ฆ่ามนุษย์กะฆ่าได้ฆ่าพ่อฆ่าแม่กะฆ่าได้ นี่แหละถ้าผิดศีล๕ข้อที่๑นิเรียกว่าทางไปนรกนะ จิตนั้นมันจิตนรกมันไปนรกแล้วทางไปมันกะไปสู่นรกนั้นแหละ เป็นข้อควรหลีเว้นบ่เป็นของควรกล้า ข้อห้ามพระพุทธเจ้าเพิลกั้นเอาไว้บ่ให้ไป

ศีล ๕ ข้อที่ ๒ เพิลให้หลีกเว้นบ่ให้ลักขโมยนะ ถ้าอยากได้ของไผลักเอาขโมยเอาแล้วโทษมันเป็นจั่งได๋ละนี่แหละผิดศิล๕ข้อที่๒นี้ทางไปอเวจีนะ พ้นจากอเวจีแล้วกะมาเป็นเปตรละฮิเนี๊ยกรรมอันนั้น

ศีล ๕ ข้อที่ ๓ เพิลให้หลีกเว้นถ้าเฮาบ่หลีกเว้นทางไปมันไปสู่สัตว์เดรัจฉานเด้ นี้แหละพระพุทธเจ้ารู้แจ้งโลกรู้แจ้งในความเกิดนะเวียนว่ายตายเกิดในโลกนี้ท่านรู้เห็นหมด

ศิล ๕ ข้อที่ ๔ เพิลให้หลีกเว้นการพูดปด ปดเพื่อสิเอาสมบัติของคนอื่นหรือปดให้คนอื่นเสียหายเนี๊ยเพิลว่าเป็นบาปผลมันเป็นจั่งได๋ละเบิ่งเอา เหมือนคนไบ้ มีปากเขากะบ่ได้เว้า มีหูเขากะบ่ได้ยิน มีโทษอย่างนั้นแหละ ทุกอย่างที่ทำไว้กะเป็นผลมาแต่กรรมนั้นแหละ

และศีลข้อที่ ๕ สุรายาเมา ยาเสพติดเพิลให้หลีกเว้น ข้อนี้มีโทษมากข้อเนี๊ย เพราะใครจะทำความชั่วทั้งกายทั้งวาจาทั้งใจต้องเมาเสียก่อน เมาแล้วกะทำความชั่งได้ทั้งหมด โทษศีลข้อนี้ให้พวกเราเบิ่งเอานะ พวกที่เก็บขยะเก็บกินในเมืองผลก็มาจากกรรมข้อนี้แหละ ถ้าพวกเราอยากรู้ให้พิจารณาเบิ่งเอาให้เบิ่งคนเมา เมาแล้วความละอายเขามีบ่ มีหยังกินได้กะกินได้หมด กะเหมือนคนเก็บขยะนอนใสกะได้กินใสกะได้นะเบิ่งเอา

นี่แหละศีลทั้ง ๕ ข้อนี้พระพุทธเจ้าห้าม ทำแล้วมันสิหมุนไปตามกรรม กรรมจำแนก กรรมตกแต่ง พึ่งให้พวกเราหลีกเว้นนะ

คำสอนเรื่องศีล ๕
หลวงปู่อว้าน เขมโก
เนกขัมมะบารมี
ปัญญาบารมี
วิริยะบารมี
ขันติบารมี
สัจจะบารมี
อธิฐานะบารมี
เมตตาบารมี
อุเบกขาบารมี
ทานบารมี  ทานธรรมะ 
____________
ไฟล์ในเว็บ
2มรรค (1) 24.9 MB  
20.7 MB  
10.6 KB  
220.8 KB  
มรรค (2) 19.1 MB  
16.4 MB  
9.0 KB  
149.6 KB  
พุทธคุณ (1) 23.9 MB  
17.9 MB  
10.8 KB  
230.2 KB  
พุทธคุณ (2) 30.7 MB  
23.0 MB  
7.8 KB  
238.8 KB  
เเยกโลกออกจากธรรม 30.5 MB  
22.0 MB  
9.4 KB  
215.9 KB  
ฟังเทศน์ ฟังธรรม 27.1 MB  
22.4 MB  
10.1 KB  
211.3 KB  
สติรักษาจิต (1) 13.1 MB  
9.9 MB  
12.8 KB  
212.6 KB  
ธรรมญาณสมาธิ 31.7 MB  
24.5 MB  
9.3 KB  
211.1 KB  
ความฉลาดในความโง่ 23.0 MB  
19.3 MB  
8.7 KB  
229.5 KB  
ธรรม (1) 19.2 MB  
15.5 MB  
8.8 KB  
228.9 KB  
ขุมทรัพย์ 26.2 MB  
21.7 MB  
10.7 KB  
189.5 KB  
ธาตุ (ธาตุวัฏฐาน) 31.4 MB  
24.9 MB  
10.8 KB  
228.7 KB  
พุทธศาสนามีคุณค่ามหาศาล 17.4 MB  
16.7 MB  
9.9 KB  
139.8 KB  
พระพุทธศาสนากับสังคม 17.4 MB  
14.0 MB  
10.3 KB  
246.5 KB  
วันอาสาฬหบูชา (11ก.ค.19) 27.0 MB  
20.0 MB  
10.5 KB  
223.6 KB  
ไว้อาลัียพระอาจารย์ฝั้น 30.3 MB  
23.7 MB  
10.1 KB  
248.2 KB  
ความเข้าใจในธรรม 10.4 MB  
7.8 MB  
12.1 KB  
155.0 KB  
สติ สมาธิ ปัญญา 29.6 MB  
23.8 MB  
11.2 KB  
254.9 KB  
ใจ (1) 13.0 MB  
10.7 MB  
11.2 KB  
225.6 KB  
โอวาทปาฏิโมกข์ 24.4 MB  
19.9 MB  
9.9 KB  
209.9 KB  
หลักการฟังธรรมเทศนา 20.3 MB  
17.0 MB  
10.6 KB  
230.2 KB  
ต้นไม้พุทธศาสนา 27.7 MB  
23.2 MB  
10.9 KB  
204.4 KB  
เเนวปฏิบัติพุทธศาสนา 25.2 MB  
19.3 MB  
10.4 KB  
201.6 KB  
มนุษย์มีหลายประเภท 27.7 MB  
21.7 MB  
9.1 KB  
168.7 KB  
ไตรสรณคมน์ (2)
______________________
ไฟล์ในเว็บ
3 การให้ทานเเละรักษาศีล 30.1 MB  
24.6 MB  
9.4 KB  
200.9 KB  
หลักพระพุทธศาสนาสอนให้เข้าถึงใจ 25.9 MB  
19.5 MB  
11.4 KB  
216.4 KB  
สติปัญญา 12.7 MB  
9.5 MB  
10.7 KB  
227.9 KB  
รื้อถอนภพ 20.1 MB  
16.6 MB  
8.1 KB  
210.6 KB  
บุญบาปเกิดที่ใจ 18.8 MB  
13.4 MB  
11.4 KB  
212.3 KB  
นิวรณ์ห้า (1) 18.9 MB  
13.6 MB  
9.0 KB  
202.2 KB  
นิวรณ์ห้า (2) 17.9 MB  
12.9 MB  
10.6 KB  
209.5 KB  
วิธีภาวนา (1) 19.9 MB  
16.3 MB  
9.2 KB  
209.5 KB  
ตั้งสติพิจารณากายกับใจ 17.2 MB  
12.4 MB  
9.5 KB  
205.7 KB  
มารห้า (1) 34.3 MB  
25.3 MB  
11.5 KB  
239.8 KB  
หลักปฏิบัติธรรม 12.4 MB  
9.0 MB  
13.3 KB  
203.3 KB  
ความปลอดโปร่ง 15.0 MB  
11.4 MB  
10.8 KB  
240.3 KB  
การรักษาศีล 28.3 MB  
23.5 MB  
9.9 KB  
214.1 KB  
ขั้นตอนของพระพุทธศาสนา 19.3 MB  
15.9 MB  
11.4 KB  
209.9 KB  
การกำหนดรู้ทุกข์ 19.0 MB  
15.9 MB  
11.1 KB  
212.2 KB  
ลักขโมย 13.1 MB  
9.6 MB  
12.8 KB  
216.7 KB  
ไตรลักษณ์ 18.2 MB  
15.4 MB  
10.2 KB  
241.7 KB  
ความเพียรสี่ประการ 15.1 MB  
12.9 MB  
11.3 KB  
245.3 KB  
ขี้ขโมย 19.0 MB  
15.4 MB  
10.0 KB  
199.6 KB  
ธรรมเป็นของเก่า 17.5 MB  
14.5 MB  
12.2 KB  
212.4 KB  
อานาปานสติ 13.9 MB  
10.5 MB  
11.0 KB  
207.1 KB  
อุปมานุสสติ 18.6 MB  
14.3 MB  
10.1 KB  
240.5 KB  
โลกธาตุ 13.0 MB  
10.1 MB  
10.4 KB  
149.7 KB  
ชีวิตเป็นของน้อยนิด 20.1 MB  
12.9 MB  
11.2 KB  
241.7 KB  
ความเสื่อมสูญของชีวิต 14.4 MB  
11.7 MB  
10.5 KB  
201.2 KB  
อนัตตา 14.6 MB  
12.3 MB  
11.4 KB  
221.6 KB  
การทำความดี 19.0 MB  
14.6 MB  
10.1 KB  
212.0 KB  
กรรม (2) 29.2 MB  
23.9 MB  
8.8 KB  
195.3 KB  
ความงามในพุทธศาสนา 12.6 MB  
9.4 MB  
12.1 KB  
222.6 KB  
มนุษย์สมบัติ 17.2 MB  
12.8 MB  
9.8 KB  
212.6 KB  
ฝังรากพุทธศาสนา 30.4 MB  
23.3 MB  
8.0 KB  
207.6 KB  
จิต 16.6 MB  
13.4 MB  
11.7 KB  
191.6 KB  
จิตที่ควรชมเเละขนาบ 9.7 MB  
7.3 MB  
12.8 KB  
144.8 KB  
ที่พึ่งที่อาศัย 19.5 MB  
16.7 MB  
12.2 KB  
181.0 KB  
มรณานุสติ 15.5 MB  
12.9 MB  
10.2 KB  
144.0 KB  
ผลของการปฏิบัติ 18.5 MB  
13.9 MB  
10.0 KB  
131.3 KB  
รู้โลกให้เป็นธรรม
_________________________
ไฟล์ในเว็บวัดนาป่าพง
4 ธรรมอาศัยความสงบ 1.0 MB  
800.4 KB  
10.1 KB  
190.2 KB  
ความตื่น (ปีใหม่) 5.0 MB  
3.9 MB  
11.5 KB  
228.9 KB  
อวิชชา 14.4 MB  
12.1 MB  
11.0 KB  
225.8 KB  
เครื่องเปรียบเทียบในการบัญญัติ 20.0 MB  
16.3 MB  
10.1 KB  
215.3 KB  
ศีล สมาธิ ปัญญา 16.3 MB  
13.8 MB  
11.7 KB  
235.7 KB  
คุณพระพุทธ (1) วันวิสาขบูชา 18.9 MB  
16.5 MB  
10.2 KB  
263.7 KB  
คุณพระธรรม 19.9 MB  
16.8 MB  
10.6 KB  
229.6 KB  
คุณพระพุทธ (2) วันวิสาขบูชา 19.6 MB  
16.8 MB  
10.6 KB  
260.0 KB  
คุณพระรัตนตรัย 19.3 MB  
15.6 MB  
9.2 KB  
183.1 KB  
วิธีหาจิต (1) 15.2 MB  
13.2 MB  
9.2 KB  
167.5 KB  
สังวร 4.4 MB  
3.3 MB  
11.4 KB  
198.2 KB  
เมตตา 4.1 MB  
3.6 MB  
12.1 KB  
239.8 KB  
อารมณ์ 17.4 MB  
13.6 MB  
8.1 KB  
202.8 KB  
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร 15.9 MB  
12.3 MB  
7.9 KB  
238.6 KB  
ธาตุสี่ (2) 19.0 MB  
16.1 MB  
9.7 KB  
218.7 KB  
จิตใจ 12.3 MB  
9.4 MB  
12.1 KB  
238.6 KB  
ความประมาทเเละไม่ประมาท 14.0 MB  
10.9 MB  
11.0 KB  
224.7 KB  
หิริ-โอตตัปปะ 10.6 MB  
8.1 MB  
10.9 KB  
215.3 KB  
ความเกิดดับ 20.2 MB  
15.1 MB  
10.0 KB  
227.4 KB  
ใจ (2) 16.1 MB  
13.3 MB  
10.7 KB  
209.0 KB  
ความแก่ 19.1 MB  
14.5 MB  
6.2 KB  
213.4 KB  
ศรัทธา 20.6 MB  
15.7 MB  
8.8 KB  
207.5 KB  
กัมมัฏฐาน 17.1 MB  
13.6 MB  
9.0 KB  
208.9 KB  
ความเกิด ความดับ 18.2 MB  
13.7 MB  
9.1 KB  
227.5 KB  
เบื้องต้นการภาวนา 2.5 MB  
1.8 MB  
10.2 KB  
192.0 KB  
ต้นตอสมาธิภาวนา 20.1 MB  
15.1 MB  
9.8 KB  
244.5 KB  
ธรรมของเก่า 12.6 MB  
10.0 MB  
12.6 KB  
258.0 KB  
ขันธโลก 20.1 MB  
15.9 MB  
9.7 KB  
219.3 KB  
ปฏิบัติ ปฏิเวธ 20.5 MB  
14.6 MB  
8.1 KB  
169.2 KB  
วิธีปฏิบัติเบื้องต้น (2) 15.1 MB  
12.5 MB  
10.0 KB  
210.3 KB  
การเเจกอักขระพยัญชนะ 10.9 MB  
8.5 MB  
12.7 KB  
262.2 KB  
วิธีภาวนา (2) 6.3 MB  
4.7 MB  
9.4 KB  
200.5 KB  
ศรัทธาเเละความไม่ประมาท 8.8 MB  
6.7 MB  
13.5 KB  
198.7 KB  
คนสี่เหล่า 27.5 MB  
21.5 MB  
8.6 KB  
250.2 KB  
วิธีหาจิต (2) 12.0 MB  
9.9 MB  
11.5 KB  
222.5 KB  
พิจารณาความตาย
_____________
ไฟล์ในเว็บโจโฉเสียงธรรม
5 ลักการฟังธรรม 23.0 MB  
16.7 MB  
9.4 KB  
การศึกษาพุทธศาสนา 23.5 MB  
16.7 MB  
10.8 KB  
วันอาสาฬหบูชา (2) 24.1 MB  
16.9 MB  
8.4 KB  
มะม่วงหวาน 17.4 MB  
12.6 MB  
11.3 KB  
เริ่มต้นกันใหม่ 20.2 MB  
13.1 MB  
11.9 KB  
เบื้องต้นการทำคุณงามความดี 18.8 MB  
12.3 MB  
11.1 KB  
ธาตุสี่ (3) 17.3 MB  
11.0 MB  
12.9 KB  
วิธีหาจิต (2) 12.0 MB  
8.6 MB  
11.5 KB  
วิธีหัดสมาธิ 12.1 MB  
8.5 MB  
11.9 KB  
บันได 3 ขั้น 20.6 MB  
13.5 MB  
10.7 KB  
บันได 16.8 MB  
11.8 MB  
10.6 KB  
คุณานิสงส์ของการทำบุญ 11.7 MB  
7.3 MB  
12.0 KB  
วันมาฆบูชา (1) 20.4 MB  
14.2 MB  
10.2 KB  
กรรม (3) 19.8 MB  
12.6 MB  
9.9 KB  
ขันธ์ห้า (2) 17.2 MB  
12.1 MB  
10.4 KB  
หลักการภาวนา 29.5 MB  
18.8 MB  
7.8 KB  
หลักปฏิบัติ (ออกพรรษา) 25.8 MB  
18.5 MB  
8.2 KB  
แก่นของการปฏิบัติ 31.3 MB  
20.3 MB  
9.0 KB  
ธรรม (2) 17.6 MB  
11.4 MB  
11.6 KB  
หลักปฏิบัติพระพุทธศาสนา 20.3 MB  
12.7 MB  
12.2 KB  
ตื่นหาธรรม (ปีใหม่) 18.8 MB  
12.1 MB  
8.5 KB  
มาฆบูชา (2) 20.2 MB  
14.3 MB  
9.4 KB  
โพธิปักขิยธรรม 37 20.2 MB  
12.9 MB  
10.0 KB  
มูลกรรมฐาน 31.5 MB  
21.2 MB  
11.4 KB  
เพียรไม่ให้ความชั่วเกิด 20.6 MB  
13.3 MB  
8.2 KB  
ศาสนา 17.5 MB  
11.1 MB  
11.5 KB  
ธรรมฝั่งอยู่ในโลก 14.8 MB  
9.6 MB  
12.5 KB  
ขันธโลก 20.7 MB  
13.4 MB  
9.1 KB  
อายตนะ 6 16.1 MB  
11.3 MB  
9.4 KB  
ธรรมเกิดจากความสงบ
_____________________
1ไตรสรณคมน์ (1) 30.3 MB  
23.7 MB  
10.8 KB  
เเนวปฏิืบัติพระพุทธศาสนา 24.1 MB  
20.7 MB  
9.9 KB  
งามในกาย 20.6 MB  
17.1 MB  
11.3 KB  
นักรบ 15.8 MB  
12.3 MB  
11.4 KB  
สติรักษาจิต (1) 20.0 MB  
17.1 MB  
8.8 KB  
บังสุกุล 14.3 MB  
11.9 MB  
10.4 KB  
ภาวนา 17.0 MB  
13.9 MB  
9.8 KB  
ฝึกหัดจิต 15.2 MB  
13.1 MB  
12.6 KB  
จับหลักปฏิบัติ 19.4 MB  
15.4 MB  
10.5 KB  
กรรม (1) 24.7 MB  
20.2 MB  
9.8 KB  
แยบคายในการภาวนา 19.7 MB  
15.9 MB  
11.0 KB  
จับหลักในการเข้าถึงหนึ่ง 25.2 MB  
20.4 MB  
9.5 KB  
สรุปธาตุขันธ์ 26.3 MB  
20.1 MB  
10.6 KB  
ธาตุสี่ สรีรยนต์ 22.1 MB  
18.4 MB  
9.9 KB  
ขันธ์ห้าเป็นภาระอย่างยิ่ง 30.0 MB  
24.7 MB  
10.3 KB  
ปฏิจจสมุปบาท 26.2 MB  
19.3 MB  
10.0 KB  
อิทธิบาทสี่ 25.8 MB  
21.3 MB  
7.8 KB  
สมมติ บัญญัติ 29.5 MB  
21.3 MB  
9.7 KB  
รูปธรรม นามธรรม 26.8 MB  
20.4 MB  
10.9 KB  
ขันธ์ห้า (1) 21.4 MB  
17.7 MB  
10.1 KB  
ฝึกหัดกรรมฐาน 20.5 MB  
15.3 MB  
9.7 KB  
กลั่นกรองธรรมออกจากโลก 27.3 MB  
20.9 MB  
11.8 KB  
ของดีจากของไม่ดี 24.7 MB  
20.5 MB  
8.9 KB  
ความยาก 4 ประการ 20.5 MB  
15.5 MB  
10.1 KB  
มาร 28.3 MB  
21.8 MB  
9.9 KB  
วิธีรักษาจิต 28.8 MB  
23.6 MB  
9.0 KB  
ของดีสองอย่าง 26.7 MB  
22.0 MB  
9.6 KB  
สติรักษาจิต (2) 13.1 MB  
9.9 MB  
12.7 KB  
ฝึกสมาธิโดยบริกรรมพุทโธ 19.4 MB  
14.5 MB  
10.3 KB  
กิเลส 20.0 MB  
15.2 MB  
10.2 KB  
วิปัสสนา
________________
7พิจารณาความตาย 30.1 MB  
20.0 MB  
9.2 KB  
การค้ากำไรหรือขาดทุน 17.2 MB  
11.8 MB  
10.7 KB  
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา 16.3 MB  
11.4 MB  
8.7 KB  
สภาวะธรรม 20.4 MB  
13.1 MB  
9.6 KB  
เปลือกของพระพุทธศาสนา 27.9 MB  
18.8 MB  
10.0 KB  
จับกิเลส ใช้กิเลส 20.3 MB  
13.1 MB  
9.7 KB  
มารห้า (2) 21.7 MB  
14.1 MB  
11.1 KB  
เปลือก กระพี้ แก่นของพุทธศาสนา 16.1 MB  
10.7 MB  
10.9 KB  
ศีล 5 19.5 MB  
12.6 MB  
8.9 KB  
คูหาใจ 19.1 MB  
12.4 MB  
10.2 KB  
ศีลอยู่ที่ตัวของเรา 19.9 MB  
13.5 MB  
11.1 KB  
เราเป็นหนี้ของโลก 19.3 MB  
12.9 MB  
11.9 KB  
ศีลธรรม 20.4 MB  
13.5 MB  
10.6 KB  
การสร้างพระ 20.1 MB  
13.3 MB  
12.0 KB  
มัคคสมังคี 18.6 MB  
12.0 MB  
9.2 KB  
ยินดีพอใจในวิสัยมาร 20.4 MB  
13.7 MB  
10.0 KB  
พละห้า 20.6 MB  
13.9 MB  
8.7 KB  
ทุกข์ (1) 20.6 MB  
14.4 MB  
10.8 KB  
พุทธศาสนาสอนที่ใจ 22.4 MB  
14.9 MB  
10.0 KB  
สติปัฏฐานสี่ 27.1 MB  
16.8 MB  
10.1 KB  
ธาตุสี่ (4) 26.3 MB  
17.3 MB  
10.6 KB  
หลักศาสนา 23.4 MB  
15.1 MB  
10.7 KB  
บูชา 35.8 MB  
23.1 MB  
11.8 KB  
ทุกข์ (2) 14.7 MB  
9.5 MB  
12.7 KB  
สมุทัย 18.6 MB  
13.2 MB  
9.9 KB  
นิโรธ 21.3 MB  
15.6 MB  
10.7 KB  
แก่ เจ็บ ตาย 13.1 MB  
8.5 MB  
10.6 KB  
สัจจธรรม
_______________
ฝันว่า เหมือนเป็นงานวัด
กลางวัน เหมือนเรากำลังยุ่งๆกับการทำงานเอกสารอยู่ตรงใต้ต้นมะขามเทพ  แล้วเราย้ายไปทางต้นตาลแต่ในความรู้สึกคือไม่มีต้นตาล แต่เหมือนมีผนังทึบก้นไว้  แต่ก็มีวัยรุ่นคนหนึ่งแต่งตัวชุดนักเรียนเหมือนบ้านไผ่ แล้วแต่งเสร็จ จะเดินไปเข้ากล้องถ่ายรูปกับพระ  เราก็เหมือนกันกำลังแต่ง และในความฝันเหมือนเขารอรอเรา จะไปเข้ากล้องถ่ายรูปหมู่กับเขา
แล้วอยู่ก็มาโผ่หน้าสาลา เห็นโยมโบวบอกว่า ตั๋มช่วยเราหน่อยหลวงตาเสียแล้ว เราเลยถามหลวงตาไหน โบวตอบ หลวงตาวัดเก่าบอ
 นะๆช่วยพาเราไปหน่อย เราไม่เหลือใครแล้ว พาไปหน่อย
เราเลยตอบว่า ไปไม่ได้
โบว ทำไมถึงไปไม่ได้
เรา มันผิดอาบัติ 
โบว ผิดข้อไหน
เรา เราไม่รู้ว่าผิด ข้อไหน ปาชาชิก สังคาทิเสด แต่รู้ว่าผิด ถ้าไปไหนกับผู้หญิงสองต่อสอง 
โบว แล้วโบวก็ร้องไห้ซึมๆ
แล้วอยู่ๆก็ไปโผ่สาลา เจอโยมแม่นั้งอยู่บนสาลา เหมือนกับนั้งแบบไปทำสังฆทานแบบเล็กๆมีญาติ 4-5คน
 เราก็ขึ้นไปนั่งอยู่ข้างหลังประมานเสาตนที่สุดท้ายก่อนถึงประตู
______________"
โหลดมาหมดแล้ว แว่วเสียงสวรรค์ แต่ยังฟังไม่หมด
เอ้อ..หลวงพี่มีอะไรจะบอก สิ่งที่หลวงพี่บอกโยมจะเชื่อหรือ
ไม่เชื่อก็หลวงพี่ก็ไม่ทุกข์อะไร
แต่อยากบอก
"โยมพ่อหลวง(ในหลวง)ถอดจิตมาวัดที่หลวงพี่อยู่ โยมพ่อหลวงมีฌาน โยมแม่หลวงก็เหมือนกัน โยมพระเทพก็เหมือนกัน
โยมพญายมราชก็ขึ้นมา
โยมแม่ธรณีก็ขึ้นมา
โยมพระอินทร์ก็ลงมา
พระพุทธเจ้าองค์พระประฐมเสด็จมา
ปู่เล่าให้ฟังว่า ตอนพระพุทธเจ้าองค์ประฐมบวชอยู่ ปู่เป็นโยมเป็นคนอุปฐาก เช็ดกระโถนล้างกระโถน 
และพระพุทธเจ้าองค์ที่3เสด็จมา
ปู่เคยเป็นเพื่อนกันกับพระพุทธเจ้าองค์ที่3 ชาตินั้นพระพุทธเจ้าเป็นโยมยังไม่ตรัสรู้
และพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันเสด็จมา มาวัดนี้นี่แหละ
มาแบบว่าเข้าไปในร่างมนุษย์
(มนุษย์คนนั้นอดีตชาติเคยเกิดเป็นลูกพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน
คืออดีตชาตอปู่เคยเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า องค์ที่1ที่3ที่4
และปู่เล่าให้ฟังอีกว่า
การคุยจะคุยทางจิตหรือทางเสียงพูดออกมาก็ได้
และเวลาปู่ไปไหนจะมีเทวดาติดตามตลอด
และปู่ก็บอกว่าพระอรหันต์จะมีรัศมีออกมา

และอีกเรื่องหนึ่งเกี่ยวกับหลวงพี่นี่แหละ วันนั้นหลวงพี่ไปฉีดยากันพยัก
แล้วหลังจากนั้นพอตอนแลงกำลังทำวัตรเย็นกับปู่ มันคั้นเนื้อคั่นตัว เหมือนหัวจะระเบิด ร่างกายไหวเอนหมุนๆแทบคุมสติไม่ได้ กินอะไรลงไปอ้วกออกมาใส่กระโถนหมด แท้บนอนไม่ได้ทั้งคืน
แล้วหลังจากวันนั้นมาปู่ก็เล่าให้ฟังว่า (หมอมจะพ้นเขาแล้ว เขาเคี้ยด)
ก็คือเธอจะหลุดพ้นจากเขา เจ้ากรรมนายเวรจะตามไม่ได้แล้ว เขาโกรธ
ตอนนั้นหลวงพี่ คิดในใจว่า ไม่ใช่เพราะลิดยาเหรอ ที่ทำให้เป็นแบบนั้นเมื่อคืนคืองง 

หลังจากนั้นมาก็สวดมนต์ตลอด จนวันข้าวประดับดินของหมู่บ้าน วันนั้นปู่บอกมาออกมาเดินเล่นดูอะไร ก็เลยออกไปแบบไม่คิดอะไร พอออกไปแล้วก็เลยเห็น เป็นแสงสีแดง ว้าบออกว้าบเข้า ดวงหนึ่ง ปู่ก็เลยถามว่ากลัวไม เราไม่ตอบแต่จะเดินไปดูยิ่งเดินใกล้ยิ่งหัวใจเต้นแรง  ก็เลยเดินไม่ถึงเหลืออีกประมาน50ก้าวก็ถึง ก็เลยมองดูอยู่แป๊บหนึ่ง
แล้วปูก็เรียกถ้ากลัวก็มา เราก็เลยเดินกลับไปหาปู่
แล้วได้ยินปู่บอกว่า เป็นทหารนรกมาคุมพวกเปตร
และก็มีพวกไม่ดีที่จะฆ่าปู่ด้วย พวกเล่นมนต์ดำ สวดเอา จะฆ่าปู่ แต่ทำอะไรปู่ไม่ได้หรอก ถ้าปู่จะเอาคืนตาย พวกนี้ไม่เอาศีลเอาทำตายแล้วตกนรก
สิ่งที่อยากเล่าให้ฟังก็มีประมานนี้แหละ
 ___________
เมื่อคืนฝันว่า
ฝันเห็นหลวงตามหาบัว กำลังยืนหัวเลาะและยิ้มอารมณ์ดี ส่วนหลวงปูขาวนั่นไม่ยิ้ม ไม่เศร้า(เหมือนทำหน้าที่เฉยๆ) เอาคลายๆกระสอบแต่ไม่ใช่ ใช่ถุงพลาสติกก็ไม่ใช่ ในนั้น(ในความรู้ที่เข้าใจคือกระดูกหลวงปูขาว) ไม่เป็นพระธาตุนะเป็นกระดูก ขาว หัวใจถูกผ่าออกเป็น3ส่วนติดกัน แต่มันยังไม่ตาย (และก็รู้สึกว่าเอ้ หลวงปูขาวเป็นคนยื่นถุงกระดูกให้ไม่ใช่หรอ จะเป็นกระดูกปูขาวเหรอ
ความรู้สึกในฝันเหมือนอยู่ ทางไปอนามัยตรงถนนหน้าบ้านแม่ใย่หน่อยเตว ส่วนเราอยู่ให้นา เพิ้จอยู่เถิ่งคอนกรีต
รู้สึกเหมือน (ในความฝันเป็นกลางช่วงเช้า2-3โมง
__________
084 887 4729
___________
โยม โจโฉ เสียงธรรม  หลวงพี่ขอบคุณมากๆ 
ที่หลวงพี่ขอบคุณมานี่ก็คือ เรื่องเสียงอ่านเสียดายคนตายไม่ได้อ่านจากYoutube 
หลวงพี่โหลดมาฟังแล้ว ชีวิตหลวงพี่เปลี่ยนไปมาก (คือน้อมไปทางธรรมมาก) สรุปก็คือชีวิตเปลี่ยนไปในทางดี

 ตอนนี้บวชอยู่และปฏิบัติธรรม (แบบตัวคนเดียวฟังจากเน็ตบ้างโหลดมาฟังบ้างและปฏิบัติตาม ไม่รู้ทำถูกมากน้อยแค่ไหน) และทางวัดไม่มีสอนอะไรเลยเกี่ยวกับการหลุดพ้น มีแต่พาทำผิดศีล แล้วก็มีแต่กิจนิมนต์ไม่เว้นเลย
วัดที่หลวงพี่บวชอยู่นี้ ถ้าจะบวชมาหาเงินนี่สมปราถนาเลยทุกราย มันได้เงินง่ายๆและได้เยอะด้วย แต่มันขัดกับหลวงพี่มากๆ มันเป็นกิเลสชัดๆ หลงแท้บกันทุกคน เหมือนเราแตกต่างจากพระรูปอื่น เหมือนเป็นบ้าคนเดียว ตอนยังไม่ได้บวช ตอนนั้นเพิ่งเรียน ม6จบ พ่อตาย มันรู้สึกเฉยๆ ไม่รู้จะร้องไห้ทำไม
มันเป็นเรื่องธรรมดา แล้วต่อก็ใช้ชีวติแบบคนทั่วไปกิเลศหนา กาม หนักมาก เรื่องลามกๆหื่นๆหนักๆๆๆมากๆๆๆ
และชอบดูหนังมากๆๆๆๆๆชอบละเมิดลิขสิทธ
คือมีความรู้หนักไปทางคอม โทรศัพท์บ้ามากๆๆๆ
แล้วหลังจากนั้นมาบวช ได้ฟังเสียดายคนตายไม่ได้อ่าน ก็เปลี่ยนไปเลย   โอ้ยโง่มาตั้งนานโง่มาไม่รู้กี่ชาติก็ตอนนี้ก็เลยเป็นอย่างที่เหล่านี่แหละ
และ
หลวงพี่คิดว่าจะย้ายวัดไปอยู่วัดปฏิบัติธรรมจริงๆ เอาเป็นเอาตายหลวงพี่อยากหลุดพ้นมากๆ ไม่อยากมาเวียนว่ายตายเกิดอีกแล้ว เทวดาเทพพรมไม่เอา นรกนี่ยิ่งไม่เอา (ชาติที่แล้วเคยเกิดเป็นเทพ หมอธรรมดูทรงญานบอก เจ้าชู้มากด้วย ไปแย้งเมียคนอื่นและ บุญยังใช้ไม่หมดโดนลงโทษให้ไปเกิดในมนุษย์ ก็อกหักบ่อย ไม่ค่อยสมหวังในความรัก
มันเลยทำให้เรา ชอบอยู่คนเดียวมั้ง คิดฟุงซานนาๆ ตอนนี้นี้เห็นข้อดี(คือเนกขัมมะ)สรุปอยาก เข้านิพานไปเลย

แต่เรื่องบารมีไม่รู้มีเท่าไร ก็เลยถือโอกาสได้เงินมาเอ้อสร้างบารมี และคิดว่าได้บวชมาในวัดที่มีแต่เงินเข้าๆๆเราจะไม่ให้มันมีกิเลส เพราะเงินก็คือธาตุ ไม่รู้จะไปอะไรยึดกับมัน มันก็เป็นของมันอยู่อย่างนั้น ก็เลยคิดว่าเอ้อเอามาสร้าง บารมี10ทัศดีกว่า ก็เลยคิดว่า เราควรไปโหลดหนังสือเกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมสอนให้หลุดพ้นทุกข์เป็นไฟล์มาปริ้น เข้าเล่มแจกตามวัดต่างๆ แต่พระวัดแถวนี้ มีแต่กิเลศพิมพ์ไป ก็กว่าจะไม่อ่านไม่ปฏิบัติ
เหมือนเราว่านข้าวไปผืนนาเลว
และก็คิดอีก ควรโอนเงินให้ โจโฉ ผู้ทำให้เห็นธรรมเบื้องตนคนแรกของเรา เพื่อให้เขาได้นำเงินนี้ไปทำสิ่งดีๆออกมาให้คนอื่นรู้ในสิ่งที่ยังไม่รู้
 
ตอนนี้คิดว่าตอนนี้เวลาออกไปสวดมนต์งานต่างๆที่ไหนที่ทางวัดรับนิมนต์
เวลามองญาติโยม มันจะคิดกำหนดเป็นอสุภะทันที เราจะเห็นเป็นกระดูก เหมือนเป็นภาพซ้อน คือบางครั้งก็กำหนด
บ้างครั้งก็ไม่ได้กำหนด 
รู้สึกว่า คนเรานี้เวลามันตายแล้ว ธาตุ4ก็แยกออกจากกัน คืนไปตามธรรมชาติของมัน  เหมือนว่าโลกนี้มันวาง ไม่มีคนไม่มีรถ สักแต่ว่าธาตุ
มีแค่จิตที่มันมาอาศัยในร่างกาย
แล้วก็หลงคิดเอาอันนั้นอันนี้เป็นของเรา ไม่ชอบก็ไม่พอใจ ชอบก็พอใจ บ้างครั้งเห็นซ้ำๆซากๆเบื่อเฉยๆ
แล้วจิตนี้มันก็ ไม่เป็นทั้งผู้หญิงไม่เป็นทั้งผู้ชาย
คือมันเป็นจิตอยู่เฉยๆ แล้วแต่มันจะไปอาศัย ร่างแบบไหน ก็เลยได้แบ่งเป็นเพศ
แล้วที่เวลาชายเห็นผู้หญิง แล้วมันเกิดความรู้สึกแบบนั้น
มันเป็นเพราะสันดานนิสัยจิตมาตั้งแต่ชาติก่อนๆๆติดมานับไม่ได้ มันก็เลยเกิดความรู้สึกแบบนั้น

ตอนนี้มันโล่งใจมากๆๆๆไม่เคยรู้สึกแบบนี้มาก่อน คือไม่รู้จะไปเอาอะไรกับมัน มันเป็นแค่ธาตุ4

รู้สึกเบาใจเบากายมากๆๆบอกไม่ถูก
ตอนนี้ดูจิตอย่างเดียว มันมีอารมพอใจไหม หรือไม่มี มันโกรธไหม หรือไม่มี คือรู้มัน มันคิดอะไร เหมือนกับว่าเราแยกออกจากความคิดนั้น  
ตอนนี้ก็เลยกำลังตัดขัน5อยู่สรุปว่าดูขัน5อยู่ ไม่ค่อยเข้าใจ วิญญาน เลย ช่วยอธิบายได้ไหมโยมโจโฉ
__________
แผ่เมตตา โยมป้าก๊อก
เอาหนังสือไปคืน รร
เรื่องเสื้อ รด โยมลิด
ทำความสะอาดบนเพดานโบด
___________
บทสวด
อัตถิโลเก    สัพพะพุธธา
ธัมมา
สังฆา
พุธรัตนะ
ธัมรัตนะ
สังฆ


โพชฌังโค สะติสังขาโต..........
วิริยัมปีติปัสสัทธิ -
สะมาธุเปกขะโพชฌังคา
มุนินา สัมมะทักขาตา
สังวัตตันติ อะภิญญายะ
..........เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
เอกัสมิง สะมะเย นาโถ
คิลาเน ทุกขิเต ทิสวา
เต จะ ตัง อะภินันทิตวา
..........เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
เอกะทา ธัมมะราชาปิ
จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ
สัมโมทิตวา จะ อาพาธา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
..........ปะหีนา เต จะ อาพาธา
มัคคาหะตะกิเลสา วะ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ ธัมมานัง วิจะโย ตะถา
โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร
สัตเตเต สัพพะทัสสินา
ภาวิตา พะหุลีกะตา
นิพพานายะ จะ โพธิยา
โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ
โมคคัลลานัญจะ กัสสะปัง
โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ
โรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ
โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ
เคลัญเญนาภิปีฬิโต
ภะณาเปตวานะ สาทะรัง
ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส
โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ
ติณณันนัมปิ มะเหสินัง
ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง
โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ
 _____________
ศีลของพระพุทธเจ้า
พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 1
พระสุตตันตปิฎก
ทีฆนิกาย  สีลขันธวรรค
เล่มที่  ๑
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
๑.  พรหมชาลสูตร
เรื่องทิฏฐิ  ๖๒
(๑)    ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้
สมัยหนึ่ง    พระผู้มีพระภาคเจ้า    เสด็จดำเนินทางไกลระหว่าง
กรุงราชคฤห์ และ  เมืองนาลันทา  พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ
๕๐๐  รูป.   แม้  สุปปิยปริพาชก  ก็เดินทางไกลระหว่าง   กรุงราชคฤห์
และ    เมืองนาลันทา      พร้อมด้วยพรหมทัตตมาณพผู้เป็นอันเตวาสิก.
ได้ยินว่า    ในระหว่างทางนั้น    สุปปิยปริพาชก    กล่าวติพระพุทธเจ้า
ติพระธรรม    ติพระสงฆ์     โดยอเนกปริยาย.    ส่วนพรหมทัตตมาณพ
อันเตวาสิกของสุปปิยปริพชก    กล่าวชมพระพุทธเจ้า     ชมพระธรรม
ชมพระสงฆ์   โดยอเนกปริยาย.     อาจารย์และอันเตวาสิกทั้งสองนั้น    มี
ถ้อยคำเป็นข้าศึกแก่กันและกันโดยตรงฉะนี้    เดินตามพระผู้มีพระภาคเจ้า
และภิกษุสงฆ์ไปข้างหลัง ๆ.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 2
ลำดับนั้น  พระผู้มีพระภาคเจ้า  เสด็จเข้าประทับพักแรมราตรีหนึ่ง
ณ พระตำนักหลวงในพระราชอุทยานอัมพลัฏฐิกา    พร้อมด้วยภิกษุ
สงฆ์.  แม้สุปปิยปริพาชกก็ได้เข้าพักแรมราตรีหนึ่ง   ใกล้พระตำหนักหลวง
ในพระราชอุทยานอัมพลัฏฐิกา   กับพรหมทัตตมาณพผู้เป็นอันเตวาสิก.
ได้ยินว่า  แม้ ณ ที่นั้น  สุปปิยปริพาชกก็ยังกล่าวติพระพุทธเจ้า    ติพระ
ธรรม    ติพระสงฆ์     โดยอเนกปริยาย.      ส่วนพรหมทัตตมาณพ
อันเตวาสิกของสุปปิยปริพาชก   คงกล่าวชมพระพุทธเจ้า   ชมพระธรรม
ชมพระสงฆ์   โดยอเนกปริยาย.     อาจารย์และอันเตวาสิกทั้งสองนั้น    มี
ถ้อยคำเป็นข้าศึกแก่กันและกันโดยตรงฉะนี้      เดินตามพระผู้มีพระภาคเจ้า
และภิกษุสงฆ์ไปข้างหลัง ๆ.
ครั้งนั้น      ภิกษุหลายรูปลุกขึ้นในเวลาใกล้รุ่ง    นั่งประชุมกัน ณ
โรงกลม  สนทนากันว่า  ท่านทั้งหลาย   เท่าที่พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้รู้ผู้เห็น
เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น   ทรงทราบความที่หมู่สัตว์มี
อัธยาศัยต่าง ๆ  กันได้เป็นอย่างดีนี้     น่าอัศจรรย์    ไม่เคยมี   ความจริง
สุปปิยปริพาชกผู้นี้   กล่าวติพระพุทธเจ้า  ติพระธรรม  ติพระสงฆ์  โดย
อเนกปริยาย    ส่วนพรหมทัตตมาณพ    อันเตวาสิกของสุปปิยปริพาชก
กล่าวชมพระพุทธเจ้า    ชมพระธรรม    ชมพระสงฆ์    โดยอเนกปริยาย
อาจารย์และอันเตวาสิกทั้งสองนี้   มีถ้อยคำเป็นข้าศึกแก่กันและกันโดยตรง
ฉะนี้   เดินตามพระผู้มีพระภาคและภิกษุสงฆ์ไปข้างหลัง ๆ.
ลำดับนั้น      พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบคำสนทนาของภิกษุ
เหล่านั้นแล้ว      เสด็จไปยังโรงกลมประทับนั่ง  ณ  อาสนะที่เขาจัดถวาย.
ครั้นประทับนั่งแล้ว  พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามภิกษุทั้งหลายว่า  ดูก่อน

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 3
ภิกษุทั้งหลาย  บัดนี้  เธอทั้งหลายนั่งประชุมสนทนากันถึงเรื่องอะไร  และ
เรื่องอะไรที่พวกเธอพูดค้างไว้.     เมื่อตรัสอย่างนี้แล้ว      ภิกษุเหล่านั้นได้
กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าดังนี้ว่า พระเจ้าข้า ณ ที่นี้เมื่อพวกข้าพระองค์
ลุกขึ้นในเวลาใกล้รุ่ง    นั่งประชุมกันอยู่ที่โรงกลม   สนทนากันว่า    ท่าน
ทั้งหลาย        เท่าที่พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้รู้ผู้เห็นเป็นพระอรหันตสัมมา-
สัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น  ทรงทราบความที่หมู่สัตว์มีอัธยาศัยต่าง ๆ กันได้
เป็นอย่างดีนี้     น่าอัศจรรย์    ไม่เคยมี    ความจริง    สุปปิยปริพาชกผู้นี้
กล่าวติพระพุทธเจ้า     ติพระธรรม    หรือติพระสงฆ์    โดยอเนกปริยาย
ส่วนพรหมทัตตมาณพอันเตวาสิกของสุปปิยปริพาชก      กล่าวชมพระ
พุทธเจ้า   ชมพระธรรม    หรือชมพระสงฆ์    โดยอเนกปริยาย    อาจารย์
และอันเตวาสิกทั้งสองนี้        มีถ้อยคำเป็นข้าศึกแก่กันและกันโดยตรงฉะนี้
เดินตามพระผู้มีพระภาคเจ้าและภิกษุสงฆ์ไปข้างหลัง ๆ  พระเจ้าข้า  เรื่อง
นี้แล  ที่พวกข้าพระองค์พูดค้างไว้  พอดีพระองค์เสด็จมาถึง
พระผู้มีพระภาคเจ้า   ตรัสว่า   ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    คนเหล่าอื่น
จะพึงกล่าวติเรา  ติพระธรรม  หรือติพระสงฆ์    ก็ตาม    เธอทั้งหลายไม่
ควรทำความอาฆาต  โทมนัส  แค้นใจในคนเหล่านั้น.    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
คนเหล่าอื่นพึงกล่าวติเรา  ติพระธรรม ติพระสงฆ์  ก็ตาม   ถ้าเธอทั้งหลาย
จักขุ่นเคือง  หรือจักน้อยใจในคนเหล่านั้น    ด้วยเหตุนั้น   อันตรายพึงมี
แก่เธอทั้งหลายนี่แหละ.       ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย      คนเหล่าอื่นพึงกล่าว
ติเรา   ติพระธรรม   หรือติพระสงฆ์   ก็ตาม    ถ้าเธอทั้งหลายจักขุ่นเคือง
หรือจักน้อยใจในคนเหล่านั้น  เธอทั้งหลายพึงรู้คำที่เป็นสุภาษิต    ของคน
เหล่าอื่นได้ละหรือ.    ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า   ข้อนั้นหามิได้พระเจ้าข้า.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 4
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    คนเหล่าอื่นพึงกล่าว
ติเรา  ติพระธรรม  หรือติพระสงฆ์  ก็ตาม  ในคำที่เขากล่าวตินั้น   คำที่
ไม่จริง     เธอทั้งหลายควรแก้ให้เห็นโดยความไม่เป็นจริงว่า     นั่นไม่จริง
แม้เพราะเหตุนี้    นั่นไม่แท้แม้เพราะเหตุนี้   แม้ข้อนั่นก็ไม่มีในเราทั้งหลาย
และในเราทั้งหลายก็ไม่มีข้อนั้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  คนเหล่าอื่นพึงกล่าวชมเรา   ชมพระธรรม
หรือชมพระสงฆ์     ก็ตาม     เธอทั้งหลายไม่ควรทำความเพลิดเพลิน
ดีใจ  เบิกบานใจในคำชมนั้น.     ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย     คนเหล่าอื่น
พึงกล่าวชมเรา   ชมพระธรรม หรือชมพระสงฆ์ก็ตาม ถ้าเธอทั้งหลาย
จักเพลิดเพลิน  ดีใจ  เบิกบานใจในคำชมนั้น  ด้วยเหตุนั้น  อันตราย
พึงมีแก่เธอทั้งหลายนี่แหละ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย     คนเหล่าอื่นพึงกล่าวชมเรา    ชมพระธรรม
หรือชมพระสงฆ์ก็ตาม   ในคำที่เขากล่าวชมนั้น   คำที่จริง   เธอทั้งหลาย
ควรปฏิญาณให้เห็นโดยความเป็นจริงว่า   นั่นจริงแม้เพราะเหตุนี้     แม้ข้อ
นั่นก็มีในเราทั้งหลาย  และในเราทั้งหลายก็มีข้อนั้น.
 
จุลศีล
(๒)  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   ก็เมื่อปุถุชนกล่าวชมตถาคต    พึง
กล่าวด้วยประการ  นั่นมีประมาณน้อยนัก  ยังต่ำนัก   เป็นเพียงศีล.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    ก็ข้อที่ปุถุชนกล่าวชมตถาคต. . .   เพียงศีลนั้นเป็น
ไฉน.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 5
(๓)  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   อีกอย่างหนึ่ง   เมื่อปุถุชนกล่าวชม
ตถาคต   พึงกล่าวชมอย่างนี้ว่า
๑.   พระสมณโคดม  ละการฆ่าสัตว์  เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์
วางทัณฑะ   วางสาตรา    มีความละอาย    มีความเอ็นดู     มีความกรุณา
หวังประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์ทั้งปวงอยู่.
๒.   พระสมณโคดม  ละการลักทรัพย์    เว้นขาดจากการลัก
ทรัพย์   รับแต่ของที่เขาให้   ต้องการแต่ของที่เขาให้   ไม่ประพฤติตนเป็น
ขโมย  เป็นคนสะอาดอยู่.
๓.   พระสมณโคดม        ละกรรมเป็นข้าศึกแก่พรหมจรรย์
ประพฤติพรหมจรรย์    ประพฤติห่างไกลเว้นจากเมถุน   ซึ่งเป็นเรื่องของ
ชาวบ้าน.
(๔)  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    อีกอย่างหนึ่ง     เมื่อปุถุชนกล่าว
ชมตถาคต   พึงกล่าวชมอย่างนี้ว่า
๔.  พระสมณโคดม  ละการพูดเท็จ  เว้นขาดจากการพูดเท็จ
พูดคำจริง    ดำรงคำสัตย์   มีถ้อยคำเป็นหลักฐาน   ควรเชื่อ    ไม่พูดลวง
โลก.
๕.   พระสมณโคดม  ละคำส่อเสียด  เว้นขาดจากคำส่อเสียด
ฟังจากข้างนี้แล้วไม่บอกข้างโน้น     เพื่อให้คนหมู่นี้แตกกัน    หรือฟังจาก
ข้างโน้นแล้วไม่บอกข้างนี้    เพื่อให้คนหมู่โน้นแตกกัน   สมานคนที่แตกกัน
แล้วบ้าง    ส่งเสริมคนที่พร้อมเพรียงกันแล้วบ้าง    ชอบคนที่พร้อมเพรียง
กัน    ยินดีในคนที่พร้อมเพรียงกัน    เพลิดเพลินในคนที่พร้อมเพรียงกัน
กล่าวแต่คำที่ทำให้คนพร้อมเพรียงกัน.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 6
๖.   พระสมณโคดม     ละคำหยาบ    เว้นขาดจากคำหยาบ
กล่าวแต่คำที่ไม่มีโทษ     เพราะหู    ชวนให้รัก     จับใจ    เป็นคำของ
ชาวเมือง  คนโดยมากรักใคร่   ชอบใจ.
๗.  พระสมณโคดม  ละคำเพ้อเจ้อ   เว้นขาดจากคำเพ้อเจ้อ
พูดถูกกาล   พูดคำจริง  พูดอิงอรรถ  พูดอิงธรรม  พูดอิงวินัย   พูดคำมี
หลักฐาน     มีที่อ้าง    มีที่กำหนด    ประกอบด้วยประโยชน์     โดยกาล
อันควร.
(๕)   ๘.  พระสมณโคดม        เว้นขาดจากการพรากพืชคามและ
ภูตคาม.
(๖)    ๙.  พระสมณโคดม    ฉันอาหารหนเดียว    เว้นการฉันใน
ราตรี  งดการฉันในเวลาวิกาล.
๑๐.  พระสมณโคดม  เว้นขาดจากการฟ้อนรำขับร้องประโคม
ดนตรี  และดูการเล่นอันเป็นข้าศึก.
๑๑.  พระสมณโคดม   เว้นขาดจากการทัดทรงประดับตกแต่ง
ร่างกาย   ด้วยดอกไม้ของหอม   และเครื่องประเทืองผิว    ซึ่งเป็นฐานแห่ง
การแต่งตัว.
๑๒.   พระสมณโคดม    เว้นขาดจากที่นอนที่นั่งสูง     และที่
นอนที่นั่งใหญ่.
๑๓.   พระสมณโคดม  เว้นขาดจากการรับทองและเงิน.
(๗) ๑๔.  พระสมณโคดม  เว้นขาดจากการรับธัญญชาติดิบ.
๑๕.   พระสมณโคดม  เว้นขาดจากการรับเนื้อดิบ.
๑๖.   พระสมณโคดม  เว้นขาดจากการรับสตรีและเด็กหญิง.
๑๗.   พระสมณโคดม  เว้นขาดจากการรับทาสีและทาส.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 7
๑๘.   พระสมณโคดม   เว้นขาดจากการรับแพะและแกะ.
๑๙.   พระสมณโคดม  เว้นขาดจากการรับไก่และสุกร.
๒๐.   พระสมณโคดม  เว้นขาดจากการรับช้าง  โค  ม้า  และ
ลา.
๒๑.  พระสมณโคดม  เว้นขาดจากการรับนาและไร่.
(๘)  ๒๒.   พระสมณโคดม    เว้นขาดจากการเป็นทูตและการ
รับใช้.
๒๓.   พระสมณโคดม  เว้นขาดจากการซื้อและการขาย.
๒๔.   พระสมณโคดม   เว้นขาดจากการโกงด้วยตาชั่ง    การ
โกงด้วยโลหะ   และการโกงด้วยเครื่องตวงวัด.
๒๕.   พระสมณโคดม   เว้นขาดจากการรับสินบน  การล่อลวง
และการตลบตะแลง.
๒๖   พระสมณโคดม   เว้นขาดจากการฟัน     การฆ่า    การ
จองจำ  การตีชิง   การปล้น  การจี้.
จบจุลศีล
 
มัชฌิมศีล
(๙)  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   อีกอย่างหนึ่ง   เมื่อปุถุชนกล่าวชม
ตถาคต  พึงกล่าวชมอย่างนี้ว่า
๑.  พระสมณโคดม   เว้นขาดจากการพรากพืชคามและภูต-
คาม  อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธา

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 8
แล้ว    ยังประกอบการพรากพืชคามและภูตคามเห็นปานนี้อยู่เนือง ๆ  คือ
พืชเกิดแต่เง่า   พืชเกิดแต่ลำต้น   พืชเกิดแต่ผล   พืชเกิดแต่ยอด    พืชเกิด
แต่เมล็ด   เป็นที่ห้า.
(๑๐)  ๒.   พระสมณโคดม เว้นขาดจากการบริโภคของที่สะสมไว้
อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว
ยังประกอบการบริโภคของที่สะสมไว้เห็นปานนี้อยู่เนือง ๆ    คือสะสมข้าว
สะสมน้ำ   สะสมผ้า   สะสมยาน   สะสมที่นอน   สะสมเครื่องประเทืองผิว
สะสมของหอม  สะสมอามิส.
(๑๑)  ๓.  พระสมณโคดม     เว้นขาดจากการเล่นที่เป็นข้าศึกแก่
กุศล     อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วย
ศรัทธาแล้ว      ยังขวนขวายดูการเล่น     ที่เป็นข้าศึกแก่กุศลเห็นปานนี้อยู่
เนือง ๆ  คือ  การฟ้อน    การขับร้อง    การประโคม    มหรสพมีการรำ
เป็นต้น  การเล่านิยาย  การเล่นปรบมือ  การเล่นปลุกผี   การเล่นตีกลอง
ฉากภาพบ้านเมืองที่สวยงาม     การเล่นของคนจัณฑาล     การเล่นไม้สูง
การเล่นหน้าศพ  ชนช้าง  ชนม้า  ชนกระบือ  ชนโค  ชนแพะ  ชนแกะ
ชนไก่   ชนนกกระทา  รำกระบี่กระบอง   มวยชก   มวยปล้ำ    สนามรบ
การตรวจพล  การจัดกระบวนทัพ  การดูกองทัพ.
(๑๒)  ๔.   พระสมณโคดม  เว้นขาดจากการขวนขวายเล่นการ
พนันอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท       อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบาง
จำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว   ยังขวนขวายเล่นการพนัน    อัน
เป็นที่ตั้งแห่งความประมาทเห็นปานนี้อยู่เนือง ๆ  คือ  เล่นหมากรุกแถว
ละแปดตา   แถวละสิบตา   เล่นหมากเก็บ   เล่นดวด   เล่นหมากไหว   เล่น

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 9
โยนบ่วง   เล่นไม้หึ่ง   เล่นกำทาย   เล่นสะกา    เล่นเป่าใบไม้   เล่นไถนา
น้อย ๆ  เล่นหกคะเมน   เล่นกังหัน   เล่นตวงทราย  เล่นรถน้อย ๆ  เล่น
ธนูน้อย ๆ  เล่นทายอักษร  เล่นทายใจ   เล่นเลียนคนพิการ.
(๑๓)  ๕.  พระสมณโคดม  เว้นขาดจากการนั่งนอนบนที่นั่ง
ที่นอนอันสูงใหญ่  อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉัน โภชนะที่เขา
ให้ด้วยศรัทธาแล้ว        ยังนั่งนอนบนที่นั่งที่นอนอันสูงให้เห็นปานนี้อยู่
เนือง ๆ   คือเตียงมีเท้าเกินประมาณ   เตียงมีเท้าทำเป็นรูปสัตว์ร้าย    พรม
ทำด้วยขนสัตว์    เครื่องลาดทำด้วยขนแกะอันสวยงาม     เครื่องลาดทำด้วย
ขนแกะสีขาว   เครื่องลาดทำด้วยขนแกะเป็นรูปดอกไม้   เครื่องลาดที่ยัดนุ่น
เครื่องลาดทำด้วยขนแกะวิจิตรด้วยรูปสัตว์ต่าง ๆ  เครื่องลาดทำด้วยขนแกะ
มีขนตั้ง    เครื่องลาดทำด้วยขนแกะมีขนข้างเดียว    เครื่องลาดทำด้วยทอง
และเงินแกมไหม     เครื่องลาดไหมขลิบทองและเงิน     เครื่องลาดขนแกะ
และจุหญิงฟ้อนได้   ๑๖  คน      เครื่องลาดหลังช้าง      เครื่องลาดหลังม้า
เครื่องลาดในรถ     เครื่องลาดที่ทำด้วยหนังเสือ   เครื่องลาดอย่างดี   ที่ทำ
ด้วยหนังชะมด  เครื่องลาดมีเพดาน  เครื่องลาดมีหมอนสองข้าง.
(๑๔)  ๖.   พระสมณโคดม         เว้นขาดจากการประดับตกแต่ง
ร่างกาย  อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วย
ศรัทธาแล้ว   ยังขวนขวายประดับตกแต่งร่างกายเห็นปานนี้อยู่เนือง ๆ  คือ
อบตัว  ไคลอวัยวะ อาบน้ำหอม  นวด  ส่องกระจก   แต้มตา  ทัดดอกไม้
ประเทืองผิว   ผัดหน้า    ทาปาก   ประดับข้อมือ   สวมเกี้ยว    ใช้ไม้เท้า
ใช้กลักยา   ใช้ดาบ    ใช้มีดสองคม   ใช้ร่ม   สวมรองเท้าสวยงาม    ติด
กรอบหน้า    ปักปิ่น   ใช้พัดวาลวีชนี  นุ่งห่มผ้าขาว   นุ่งห่มผ้ามีชายยาว.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 10
(๑๕)  ๗.   พระสมณโคดม    เว้นขาดจากติรัจฉานกถา    อย่างที่
สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว     ยัง
ประกอบดิรัจฉานกถาเห็นปานนี้อยู่เนือง ๆ  คือ   เรื่องพระราชา  เรื่องโจร
เรื่องมหาอำมาตย์  เรื่องกองทัพ  เรื่องภัย  เรื่องสงคราม  เรื่องข้าว  เรื่องน้ำ
เรื่องผ้า   เรื่องที่นอน   เรื่องดอกไม้   เรื่องของหอม   เรื่องญาติ   เรื่องยาน
เรื่องบ้าน    เรื่องนิคม    เรื่องนคร    เรื่องชนบท   เรื่องสตรี   เรื่องบุรุษ
เรื่องคนกล้า    เรื่องตรอก    เรื่องท่าน้ำ    เรื่องคนที่ล่วงลับไปแล้ว   เรื่อง
เบ็ดเตล็ด    เรื่องโลก     เรื่องทะเล       เรื่องความเจริญและความเสื่อมด้วย
ประการนั้น ๆ.
(๑๖)  ๘.   พระสมณโคดม       เว้นขาดจากการพูดแก่งแย่งกัน
อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว
ยังพูดแก่งแย่งกันเห็นปานนี้อยู่เนือง ๆ   คือ    ท่านไม่รู้ทั่วถึงธรรมวินัยนี้
ข้าพเจ้ารู้ทั่วถึง    ท่านจักรู้ทั่วถึงธรรมวินัยนี้ได้อย่างไร     ท่านปฏิบัติผิด
ข้าพเจ้าปฏิบัติถูก   คำพูดของข้าพเจ้ามีประโยชน์  ของท่านไม่มีประโยชน์
คำที่ควรกล่าวก่อน  ท่านกล่าวทีหลัง  คำที่ควรจะกล่าวทีหลัง   ท่านกล่าว
ก่อน    ข้อที่ท่านเคยช่ำชองมาได้ผันแปรไปแล้ว   ข้าพเจ้าจับผิดวาทะของ
ท่านได้   ข้าพเจ้าข่มท่านได้แล้ว   ท่านจงถอนวาทะเสีย    มิฉะนั้นจงแก้ไข
เสีย   ถ้าสามารถ.
(๑๗)  ๙.   พระสมณโคดม    เว้นขาดจากการเป็นทูต    และการ
รับใช้ อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขาให้ด้วยศรัทธา
แล้ว         ยังขวนขวายประกอบการเป็นทูตและการรับใช้เห็นปานนี้อยู่
เนือง ๆ  คือรับเป็นทูตของพระราชา  มหาอำมาตย์ของพระราชา  กษัตริย์
พราหมณ์  คฤหบดี  และกุมารว่า  จงไปที่นี้   จงไปที่โน้น    จงนำเอาสิ่ง

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 11
นี้ไป  จงนำเอาสิ่งในที่โน้นมา  ดังนี้.
(๑๘)    ๑๐. พระสมณโคดม  เว้นขาดจากการพูดหลอกลวง  และ
การพูดเลียบเคียง  อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขา
ให้ด้วยศรัทธาแล้ว   พูดเลียบเคียง   พูดหว่านล้อม   พูดและเล็ม   แสวงหา
ด้วยลาภ.
จบมัชฌิมศีล
 
มหาศีล
(๑๙)  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  อีกอย่างหนึ่ง   เมื่อปุถุชนกล่าวชม
ตถาคต  พึงกล่าวชมอย่างนี้ว่า
๑.   พระสมณโคดม     เว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทาง
ผิดด้วยติรัจฉานวิชา   อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่
เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว    ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้
คือ   ทายอวัยวะ  ทายนิมิต  ทายอุปบาต    ทำนายฝัน    ทำนายลักษณะ
ทำนายหนูกัดผ้า     ทำพิธีบูชาไฟ     ทำพิธีเบิกแว่นเวียนเทียน    ทำพิธี
ซัดแกลบบูชาไฟ  ทำพิธีซัดรำบูชาไฟ  ทำพิธีซัดข้าวสารบูชาไฟ   ทำพิธี
เติมเนยบูชาไฟ    ทำพิธีเติมน้ำมันบูชาไฟ    ทำพิธีเสกเป่าบูชาไฟ    ทำ
พลีกรรมด้วยโลหิต  เป็นหมอดูอวัยวะ  ดูลักษณะพื้นที่  ดูลักษณะที่ไร่นา
เป็นหมอปลุกเสก  เป็นหมอผี  เป็นหมอลงเลขยันต์คุ้มกันบ้านเรือน  เป็น
หมองู   เป็นหมอยาพิษ   เป็นหมอแมลงป่อง   เป็นหมอรักษาแผลหนูกัด
เป็นหมอทายเสียงนก  เป็นหมอทายเสียงกา  เป็นหมอทายอายุ   เป็นหมอ

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 12
เสกกันลูกศร  เป็นหมอดูรอยเท้าสัตว์
(๒๐)   ๒.   พระสมณโคดม     เว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทาง
ผิดด้วยติรัจฉานวิชา  อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉัน โภชนะที่
เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว    ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้
คือ   ทายลักษณะแก้วมณี   ทายลักษณะไม้พลอง   ทายลักษณะผ้า   ทาย
ลักษณะศาสตรา  ทายลักษณะดาบ  ทายลักษณะศร  ทายลักษณะธนู  ทาย
ลักษณะอาวุธ   ทายลักษณะสตรี   ทายลักษณะบุรุษ   ทายลักษณะกุมาร
ทายลักษณะกุมารี  ทายลักษณะทาส   ทายลักษณะทาสี   ทายลักษณะช้าง
ทายลักษณะม้า  ทายลักษณะกระบือ ทายลักษณะโคอุสภะ ทายลักษณะโค
ทายลักษณะแพะ    ทายลักษณะแกะ     ทายลักษณะไก่    ทายลักษณะนก
กระทา     ทายลักษณะเหี้ย    ทายลักษณะช่อฟ้า    ทายลักษณะเต่า    ทาย
ลักษณะมฤค.
(๒๑)    ๓.   พระสมณโคดม  เว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิด
ด้วยติรัจฉานวิชา  อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขา
ให้ด้วยศรัทธาแล้ว   ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้   คือ
ดูฤกษ์ยาตราทัพว่า    พระราชาจักยกออก   พระราชาจักไม่ยกออก    พระ
ราชาภายในจักเข้าประชิด  พระราชาภายนอกจักถอย   พระราชาภายนอก
จักเข้าประชิด   พระราชาภายในจักถอย   พระราชาภายในจักมีชัย    พระ
ราชาภายนอกจักปราชัย    พระราชาภายนอกจักมีชัย   พระราชาภายในจัก
ปราชัย      พระราชาพระองค์นี้จักมีชัย      พระราชาพระองค์นี้จักปราชัย
เพราะเหตุนี้  หรือเหตุนี้.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 13
(๒๒)  ๔.  พระสมณโคดม      เว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทาง
ผิดด้วยติรัจฉานวิชา   อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉัน โภชนะที่
เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว    ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้
คือ  พยากรณ์ว่า    จักมีจันทรคราส   จักมีสุริยคราส   จักมีนักษัตรคราส
ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์จักเดินถูกทาง    ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์จักเดินผิดทาง
ดาวนักษัตรจักเดินถูกทาง     ดาวนักษัตรจักเดินผิดทาง    จักมีอุกกาบาด
จักมีดาวหาง  จักมีแผ่นดินไหว   จักมีฟ้าร้อง   ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และ
ดาวนักษัตรจักขึ้น  ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรจักตก  ดวงจันทร์
ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรจักมัวหมอง       ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาว
นักษัตรจักกระจ่าง   จันทรคราสจักมีผลอย่างนี้    สุริยคราสจักมีผลอย่างนี้
นักษัตรคราสจักมีผลอย่างนี้         ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์เดินถูกทางจักมีผล
อย่างนี้     ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์เดินผิดทางจักมีผลอย่างนี้      ดาวนักษัตร
เดินถูกทางจักมีผลอย่างนี้   ดาวนักษัตรเดินผิดทางจักมีผลอย่างนี้   อุกกา-
บาตจักมีผลอย่างนี้     ดาวหางจักมีผลอย่างนี้     แผ่นดินไหวจักมีผลอย่างนี้
ฟ้าร้องจักมีผลอย่างนี้     ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรขึ้นจักมีผล
อย่างนี้      ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรตกจักมีผลอย่างนี้     ดวง
จันทร์ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรมัวหมองจักมีผลอย่างนี้         ดวงจันทร์
ดวงอาทิตย์และดาวนักษัตรกระจ่างจักมีผลอย่างนี้.
(๒๓ )   ๕.   พระสมณโคดม  เว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิด
ด้วยติรัจฉานวิชา  อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขา
ให้ด้วยศรัทธาแล้ว   ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้   คือ

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 14
พยากรณ์ว่า   จักมีฝนดี   จักมีฝนแล้ง   จักมีภิกษาหาได้ง่าย   จักมีภิกษา
หาได้ยาก    จักมีความเกษม    จักมีภัย    จักเกิดโรค    จักมีความสำราญ
หาโรคมิได้ หรือนับคะแนน  คำนวณ  นับประมวล   แต่งกาพย์  โลกายต-
ศาสตร์.
(๒๔)   ๖.  พระสมณโคดม   เว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิด
ด้วยติรัจฉานวิชา   อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่เขา
ให้ด้วยศรัทธาแล้ว        ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิดด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้
คือ   ให้ฤกษ์อาวาหมงคล    ฤกษ์วิวาหมงคล   ดูฤกษ์เรียงหมอน  ดูฤกษ์
หย่าร้าง  ดูฤกษ์เก็บทรัพย์  ดูฤกษ์จ่ายทรัพย์  ดูโชคดี  ดูเคราะห์ร้าย   ให้
ยาผดุงครรภ์   ร่ายมนต์ให้ลิ้นกระด้าง   ร่ายมนต์ให้คางแข็ง   ร่ายมนต์ให้
มือสั่น  ร่ายมนต์ไม่ให้หูได้ยินเสียง   เป็นหมอทรงกระจก    เป็นหมอทรง
หญิงสาว  เป็นหมอทรงเจ้าบวงสรวงพระอาทิตย์  บวงสรวงท้าวมหาพรหม
ร่ายมนต์พ่นไฟ  ทำพิธีเชิญขวัญ.
(๒๕)   ๗.   พระสมณะโคดมเว้นขาดจากการเลี้ยงชีพโดยทางผิด
ด้วยติรัจฉานวิชา       อย่างที่สมณพราหมณ์ผู้เจริญบางจำพวกฉันโภชนะที่
เขาให้ด้วยศรัทธาแล้ว   ยังเลี้ยงชีพโดยทางผิด  ด้วยติรัจฉานวิชาเห็นปานนี้
คือ    ทำพิธีบนบาน   ทำพิธีแก้บน   ร่ายมนต์ขับผี    สอนมนต์ป้องกัน
บ้านเรือน     ทำกะเทยให้กลับเป็นชาย     ทำชายให้กลายเป็นกะเทย    ทำ
พิธีปลูกเรือน  ทำพิธีบวงสรวงพื้นที่   พ่นน้ำมนต์   รดน้ำมนต์   ทำพิธี
บูชาไฟ   ปรุงยาสำรอก   ปรุงยาถ่าย   ปรุงยาถ่ายโทษเบื้องบน    ปรุงยา
ถ่ายโทษเบื้องล่าง     ปรุงยาแก้ปวดศีรษะ    หุงน้ำมันหยอดหู    ปรุงยาตา

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 15
ปรุงยานัตถุ์ ปรุงยาทากัด  ปรุงยาทาสมาน  ป้ายยาตา  ทำการผ่าตัด  รักษา
เด็ก   ใส่ยา   ชะแผล
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   ข้อที่ปุถุชนกล่าวชมตถาคตด้วยประการใด
ซึ่งมีประมาณน้อยนัก  ยังต่ำนัก  เป็นเพียงศีลนั้น  เท่านั้นแล.
จบมหาศีล
 
ทิฏฐิ   ๖๒
(๒๖)  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    ยังมีธรรมอย่างอื่นอีกแล    ที่ลึกซึ้ง
เห็นได้ยาก  รู้ตามได้ยาก  สงบ  ประณีต  จะคาดคะเนไม่ได้ ละเอียด  รู้ได้
เฉพาะบัณฑิต   ที่ตถาคตทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง   แล้วสอนผู้อื่นให้
รู้แจ้ง       อัน เป็นเหตุให้คนทั้งหลายกล่าวชมตถาคตตามความเป็นจริงโดย
ชอบ.    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   ก็ธรรมเหล่านั้น    ที่ลึกซึ้ง    เห็นได้ยาก
สงบ    ประณีต    จะคาดคะเนเอาไม่ได้   ละเอียด  รู้ได้เฉพาะบัณฑิต  ที่
ตถาคตทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง     แล้วสอนผู้อื่นให้รู้แจ้ง    อันเป็น
เหตุให้คนทั้งหลายกล่าวชมตถาคตตามความเป็นจริงโดยชอบ     เหล่านั้น
เป็นไฉน.
 
ก.  ปุพพันตกัปปิกทิฏฐิ  ๑๘
(๒๗)  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่งกำหนด
ขันธ์ส่วนอดีต    มีความเห็นไปตามขันธ์ส่วนอดีต    ปรารภขันธ์ส่วนอดีต
กล่าวคำแสดงทิฏฐิหลายชนิดด้วยวัตถุ  ๑๘ ประการ.       ก็สมณพราหมณ์

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 16
ผู้เจริญเหล่านั้น  อาศัยอะไร   ปรารภอะไร   จึงกำหนดขันธ์ส่วนอดีต  มี
ความเห็นไปตามขันธ์ส่วนอดีต   กล่าวคำแสดงทิฏฐิหลายชนิดด้วยวัตถุ  ๑๘
ประการ.
 
สัสสตทิฏฐิ  ๔
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง   มีวาทะว่า   เที่ยง
บัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยง    ด้วยวัตถุ  ๔  ประการ.     ก็สมณพราหมณ์
ผู้เจริญเหล่านั้น    อาศัยอะไร   ปรารภอะไร   จึงมีวาทะว่าเที่ยง    บัญญัติ
อัตตาและโลก   ว่าเที่ยง   ด้วยวัตถุ ๔ ประการ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  สมณะหรือพราหมณ์บางพวกในโลกนี้  อาศัย
ความเพียรเครื่องเผากิเลส    อาศัยความเพียรที่ตั้งมั่น   อาศัยการประกอบ
เนือง ๆ   อาศัยความไม่ประมาท      อาศัยมนสิการโดยชอบ     แล้วสัมผัส
เจโตสมาธิอันเป็นเครื่องให้จิตตั้งมั่น   (บริสุทธิ์  ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเครื่อง
ยียวน   ปราศจากอุปกิเลส )      ระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้
หลายประการ  คือ  ระลึกชาติได้  ชาติหนึ่งบ้าง   สองชาติบ้าง   สามชาติ
บ้าง  สี่ชาติบ้าง   ห้าชาติบ้าง   สิบชาติบ้าง  ยี่สิบชาติบ้าง  สามสิบชาติบ้าง
สี่สิบชาติบ้าง  ห้าสิบชาติบ้าง   ร้อยชาติบ้าง   พันชาติบ้าง   แสนชาติบ้าง
หลายร้อยชาติบ้าง   หลายแสนชาติบ้าง   ว่าในภพโน้น    เรามีชื่ออย่างนั้น
มีโคตรอย่างนั้น  มีผิวพรรณอย่างนั้น    มีอาหารอย่างนั้น    เสวยสุขเสวย
ทุกข์อย่างนั้น  มีกำหนดอายุเท่านั้น   ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว    ได้ไปเกิด
ในภพโน้น     แม้ในภพนั้น   เราก็มีชื่ออย่างนั้น   มีโคตรอย่างนั้น   มีผิว
พรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น  เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้น ๆ  มีกำหนด

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 17
อายุเท่านั้น   ครั้นจุติจากภพนั้นแล้วได้มาเกิดในภพนี้   ตามระลึกถึงขันธ์ที่
เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้หลายประการพร้อมทั้งอาการ     พร้อมทั้งอุเทศ
ฉะนี้.    เขากล่าวอย่างนี้ว่า    อัตตาและโลกเที่ยง     เป็นหมัน    ตั้งมั่นดุจ
ยอดภูเขา    ตั้งมั่นดุจเสาระเนียดที่ตั้งอยู่      ส่วนสัตว์เหล่านั้นย่อมแล่นไป
ย่อมท่องเที่ยวไป   ย่อมจุติ   ย่อมอุบัติ   แต่สิ่งที่เที่ยงเสมอ   คงมีอยู่แท้.
ข้อนี้เพราะเหตุไร.
เพราะเหตุว่า   ข้าพเจ้าอาศัยความเพียรเครื่องเผากิเลส    อาศัยความ
เพียรที่ตั้งมั่น  อาศัยการประกอบเนือง ๆ  อาศัยความไม่ประมาท    อาศัย
มนสิการโดยชอบ    จึงสัมผัสเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องให้จิตตั้งมั่น    ระลึก
ถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้หลายประการ   คือ   ตามระลึกชาติได้
ชาติหนึ่งบ้าง  สองชาติบ้าง   สามชาติบ้าง   สี่ชาติบ้าง   ห้าชาติบ้าง   สิบ
ชาติบ้าง  ยี่สิบชาติบ้าง   สามสิบชาติบ้าง   สี่สิบชาติบ้าง   ห้าสิบชาติบ้าง
ร้อยชาติบ้าง  พันชาติบ้าง   แสนชาติบ้าง   หลายร้อยชาติบ้าง   หลายพัน
ชาติบ้าง  หลายแสนชาติบ้าง   ว่าในภพโน้น   เรามีชื่ออย่างนั้น   มีโคตร
อย่างนั้น  มีผิวพรรณอย่างนั้น  มีอาหารอย่างนั้น  เสวยสุขเสวยทุกข์อย่าง
นั้น ๆ  มีกำหนดอายุเท่านั้น  ครั้นจุติจากภพนั้นแล้วได้ไปเกิดในภพโน้น
แม้ในภพนั้นเราก็มีชื่ออย่างนั้น    มีโคตรอย่างนั้น     มีผิวพรรณอย่างนั้น
มีอาหารอย่างนั้น      เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้น ๆ    มีกำหนดอายุเท่านั้น
ครั้นจุติจากภพนั้นแล้วได้มาเกิดในภพนี้     ระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ใน
กาลก่อนได้หลายประการ  พร้อมทั้งอาการ  พร้อมทั้งอุเทศ  ฉะนี้.  ด้วย
การบรรลุคุณวิเศษนี้      ข้าพเจ้าจึงรู้อาการที่อัตตาและโลกเที่ยง      เป็น
หมัน  ตั้งมั่นดุจยอดภูเขา  ตั้งมั่นดุจเสาระเนียดที่ตั้งอยู่   ส่วนสัตว์เหล่านั้น

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 18
ย่อมแล่นไป   ย่อมท่องเที่ยวไป   ย่อมจุติ   ย่อมอุบัติ   แต่สิ่งที่เที่ยงเสมอคง
มีอยู่แท้.   ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   นี้เป็นฐานะที่ ๑    ที่สมณพราหมณ์พวก
หนึ่ง   อาศัยแล้ว   ปรารภแล้ว    จึงมีวาทะว่าเที่ยง    บัญญัติอัตตาและโลก
ว่าเที่ยง.
(๒๘)   ๒.  อนึ่ง  ในฐานะที่  ๒  สมณพราหมณ์ผู้เจริญ   อาศัย
อะไร   ปรารภอะไร   จึงมีวาทะว่าเที่ยง    บัญญัติอัตตาและโลก    ว่าเที่ยง.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  สมณะหรือพราหมณ์บางพวกในโลกนี้   อาศัย
ความเพียรเครื่องเผากิเลส    อาศัยความเพียรที่ตั้งมั่น    อาศัยการประกอบ
เนือง ๆ    อาศัยความไม่ประมาท     อาศัยมนสิการโดยชอบ     แล้วสัมผัส
เจโตสมาธิอันเป็นเครื่องให้จิตตั้งมั่น     ระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาล
ก่อนได้หลายประการ  คือ    ระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน    ได้
สังวัฏฏวิวัฏฏกัปหนึ่งบ้าง   สองบ้าง   สามบ้าง    สี่บ้าง   ห้าบ้าง   สิบบ้าง
ว่า  ในกัปโน้น  เรามีชื่ออย่างนั้น  มีโคตรอย่างนั้น  มีผิวพรรณอย่างนั้น
มีอาหารอย่างนั้น  เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้น ๆ  มีกำหนดอายุเท่านั้น  ครั้น
จุติจากกัปนั้นแล้วได้ไปเกิดในกัปโน้น  แม้ในกัปนั้นเราก็มีชื่ออย่างนั้น  มี
โคตรอย่างนั้น  มีผิวพรรณอย่างนั้น  มีอาหารอย่างนั้น  เสวยสุขเสวยทุกข์
อย่างนั้น  ๆ มีกำหนดอายุเท่านั้น    ครั้นจุติจากกัปนั้นแล้วได้มาเกิดในกัป
นี้   ย่อมระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้หลายประการ   พร้อมทั้ง
อาการ   พร้อมทั้งอุเทศ  ฉะนี้.    เขากล่าวอย่างนี้ว่า    อัตตาและโลกเที่ยง
เป็นหมัน   ตั้งมั่นดุจยอดภูเขา    ตั้งมั่นดุจเสาระเนียดที่ตั้งอยู่    ส่วนสัตว์
เหล่านั้นย่อมแล่นไป  ย่อมท่องเที่ยวไป   ย่อมจุติ   ย่อมอุบัติ   แต่สิ่งที่เที่ยง
เสมอคงมีอยู่แท้.
ข้อนั้นเพราะเหตุไร.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 19
เพราะเหตุว่า   ข้าพเจ้าอาศัยความเพียรเครื่องเผากิเลส    อาศัยความ
เพียรที่ตั้งมั่น   อาศัยการประกอบเนือง ๆ  อาศัยความไม่ประมาท   อาศัย
มนสิการโดยชอบแล้ว   สัมผัสเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องให้จิตตั้งมั่น   ระลึก
ถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้หลายประการ    คือ    ระลึกถึงขันธ์ที่
เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้  สังวัฏฏวิวัฏฏกัปหนึ่งบ้าง   สองบ้าง   สามบ้าง
สี่บ้าง  ห้าบ้าง   สิบบ้าง  ว่ากัปโน้น  เรามีชื่ออย่างนั้น   มีโคตรอย่างนั้น
มีผิวพรรณอย่างนั้น   มีอาหารอย่างนั้น   เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้น ๆ  มี
กำหนดอายุเท่านั้น   ครั้นจุติจากกัปนั้นแล้วได้ไปเกิดในกัปโน้น    แม้ใน
กัปนั้นเราก็มีชื่ออย่างนั้น  มีโคตรอย่างนั้น  มีผิวพรรณอย่างนั้น  มีอาหาร
อย่างนั้น    เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้น ๆ  มีกำหนดอายุเท่านั้น    ครั้นจุติ
จากกัปนั้นแล้ว  ได้มาเกิดในกัปนี้    ย่อมระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาล
ก่อนได้หลายประการ   พร้อมทั้งอาการ  พร้อมทั้งอุเทศ   ฉะนี้.      ด้วย
การสัมผัสคุณวิเศษนี้   ข้าพเจ้าจึงรู้อาการที่อัตตาและโลกเที่ยง    เป็นหมัน
ตั้งมั่นดุจยอดภูเขา    ตั้งมั่นดุจเสาระเนียดที่ดังอยู่     ส่วนสัตว์เหล่านั้นย่อม
แล่นไป   ย่อมท่องเที่ยวไป   ย่อมจุติ    ย่อมอุบัติ    แต่สิ่งที่เที่ยงเสมอคงมี
อยู่แท้.    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   นี้เป็นฐานะที่ ๒    ที่สมณพราหมณ์พวก
หนึ่ง   อาศัยแล้ว   ปรารภแล้ว    จึงมีวาทะว่าเที่ยง    บัญญัติอัตตาและโลก
ว่าเที่ยง.
(๒๙)   ๓.   อนึ่ง  ในฐานะที่ ๓   สมณพราหมณ์ผู้เจริญ   อาศัย
อะไร    ปรารภอะไร    จึงมีวาทะว่าเที่ยง   บัญญัติอัตตาและโลก   ว่าเที่ยง.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  สมณะหรือพราหมณ์บางพวกในโลกนี้  อาศัย
ความเพียรเครื่องเผากิเลส    อาศัยความเพียรที่ตั้งมั่น    อาศัยการประกอบ

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 20
เนือง ๆ   อาศัยความไม่ประมาท     อาศัยมนสิการโดยชอบ     แล้วสัมผัส
เจโตสมาธิอันเป็นเครื่องให้จิตตั้งมั่น     ระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาล
ก่อนได้หลายประการ   คือ    ระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้สิบ
สังวัฏฏวิวัฏฏกัปบ้าง  ยี่สิบบ้าง  สามสิบบ้าง  สี่สิบบ้าง  ว่าในกัปโน้น  เรามี
ชื่ออย่างนั้น     มีโคตรอย่างนั้น   มีผิวพรรณอย่างนั้น  มีอาหารอย่างนั้น
เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้น ๆ    มีกำหนดอายุเท่านั้น     ครั้นจุติจากกัปนั้น
แล้วได้ไปเกิดในกัปโน้น    แม้ในกัปนั้นเราก็มีชื่ออย่างนั้น  มีโคตรอย่างนั้น
มีผิวพรรณอย่างนั้น   มีอาหารอย่างนั้น  เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้น ๆ  มี
กำหนดอายุเท่านั้น   ครั้นจุติจากกัปนั้นแล้วได้มาเกิดในกัปนี้    ย่อมระลึก
ถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้หลายประการ        พร้อมทั้งอาการ
พร้อมทั้งอุเทศ   ฉะนี้.    เขาจึงกล่าวอย่างนี้ว่า   อัตตาและโลกเที่ยง   เป็น
หมัน  ตั้งมั่นดุจยอดภูเขา   ตั้งมั่นดุจเสาระเนียดที่ตั้งอยู่   ส่วนสัตว์เหล่านั้น
ย่อมแล่นไป   ย่อมท่องเที่ยวไป    ย่อมจุติ    ย่อมอุบัติ    แต่สิ่งที่เที่ยงเสมอ
คงมีอยู่แท้.
ข้อนั้นเพราะเหตุไร.
เพราะเหตุว่า   ข้าพเจ้าอาศัยความเพียรเครื่องเผากิเลส    อาศัยความ
เพียรที่ตั้งมั่น  อาศัยการประกอบเนือง ๆ  อาศัยความไม่ประมาท   อาศัย
มนสิการโดยชอบ แล้วสัมผัสเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องให้จิตตั้งมั่น ระลึกถึง
ขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนได้หลายประการ    คือ    ระลึกถึงขันธ์ที่เคย
อาศัยอยู่ในกาลก่อนได้สิบสังวัฏฏวิวัฏฏกัปบ้าง     ยี่สิบบ้าง     สามสิบบ้าง
สี่สิบบ้าง     ว่าในกัปโน้น     เรามีชื่ออย่างนั้น     มีโคตรอย่างนั้น    มี
ผิวพรรณอย่างนั้น        มีอาหารอย่างนั้น        เสวยสุขเสวยทุกข์อย่าง

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 21
นั้น  ๆ   มีกำหนดอายุเท่านั้น  ครั้นจุติจากกัปนั้นแล้วได้ไปเกิดในกัปโน้น
แม้ในกัปนั้นเราก็มีชื่ออย่างนั้น  มีโคตรอย่างนั้น     มีผิวพรรณอย่างนั้น  มี
อาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้น ๆ มีกำหนดอายุเท่านั้น  ครั้นจุติ
จากกัปนั้นแล้วได้มาเกิดในกัปนี้      ย่อมระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาล
ก่อนได้หลายประการ    พร้อมทั้งอาการ    พร้อมทั้งอุเทศ   ฉะนี้.    ด้วย
การสัมผัสคุณวิเศษนี้    ข้าพเจ้าจึงรู้อาการที่อัตตาและโลกเที่ยง    เป็นหมัน
ตั้งมั่นดุจยอดภูเขา      ตั้งมั่นดุจเสาระเนียดที่ตั้งอยู่       ส่วนสัตว์เหล่านั้น
ย่อมแล่นไป   ย่อมท่องเที่ยวไป   ย่อมจุติ   ย่อมอุบัติ   แต่สิ่งที่เที่ยงเสมอคง
มีอยู่แท้.     ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    นี้เป็นฐานะที่ ๓     ที่สมณพราหมณ์
พวกหนึ่ง   อาศัยแล้ว   ปรารภแล้ว    จึงมีวาทะว่าเที่ยง    บัญญัติอัตตาและ
โลก   ว่าเที่ยง.
(๓๐)   ๔.   อนึ่ง    ในฐานะที่    สมณพราหมณ์ผู้เจริญ    อาศัย
อะไร   ปรารภอะไร   จึงมีวาทะว่าเที่ยง   บัญญัติอัตตาและโลก   ว่าเที่ยง.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   สมณะหรือพราหมณ์บางพวกในโลกนี้    เป็น
นักตรึก   เป็นนักตรอง   กล่าวแสดงปฏิภาณของตนตามที่ตรึกได้    ตามที่
ค้นคิดได้อย่างนี้ว่า   อัตตาและโลกเที่ยง    เป็นหมัน    ตั้งมั่นดุจยอดภูเขา
ตั้งมั่นดุจเสาระเนียดที่ตั้งอยู่   ส่วนสัตว์เหล่านั้นย่อมแล่นไป  ย่อมท่องเที่ยว
ไป   ย่อมจุติ    ย่อมอุบัติ      แต่สิ่งที่เที่ยงเสมอคงมีอยู่แท้.      ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย    นี้เป็นฐานะที่  ๔    ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง    อาศัยแล้ว
ปรารภแล้ว   จึงมีวาทะว่าเที่ยง   บัญญัติอัตตาและโลก   ว่าเที่ยง.    ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย  สมณพราหมณ์เหล่านั้น  มีวาทะว่าเที่ยง  บัญญัติอัตตาและ
โลก   ว่าเที่ยง   ด้วยวัตถุ ๔  นี้แล.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 22
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย     สมณพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่งที่มีวาทะว่า
เที่ยง  บัญญัติอัตตาและโลก  ว่าเที่ยง  สมณพราหมณ์เหล่านั้นทั้งหมด  ย่อม
บัญญัติด้วยวัตถุ ๔  นี้เท่านั้น      หรือด้วยอย่างใดอย่างหนึ่งใน ๔ อย่างนี้
นอกจากนี้ไม่มี.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   เรื่องนี้ตถาคตรู้ชัดว่า   ฐานะเป็นที่ตั้งแห่ง
วาทะเหล่านี้   ที่บุคคลถือไว้อย่างนั้นแล้ว   ยึดไว้อย่างนั้นแล้ว    ย่อมมี
คติอย่างนั้น   มีภพเบื้องหน้าอย่างนั้น.     อนึ่ง   ตถาคตย่อมรู้เหตุนั้น
ชัด   และรู้ชัดยิ่งไปกว่านั้น     ทั้งไม่ยึดมั่นความรู้ชัดนั้นด้วย    และ
เมื่อไม่ยึดมั่น    ตถาคตก็รู้ความดับสนิทของตนเอง   รู้ความเกิด   ความ
ดับ    คุณ  โทษแห่งเวทนาทั้งหลาย    กับอุบายเป็นเครื่องออกไปจาก
เวทนาเหล่านั้น    ตามความเป็นจริง.     เพราะไม่ยึดมั่น     ตถาคตจึง
หลุดพ้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    ธรรมเหล่านี้   ที่ลึกซึ้ง   เห็นได้ยาก รู้ตาม
ได้ยาก สงบ  ประณีต   จะคาดคะเนเอาไม่ได้  ละเอียด   รู้ได้เฉพาะ
บัณฑิต     ที่ตถาคตทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง     แล้วสอนผู้อื่นให้
รู้แจ้ง       อันเป็นเหตุให้คนทั้งหลายกล่าชมตถาคตตามความเป็นจริง
โดยชอบ.
จบภาณวารที่หนึ่ง
 
เอกัจจสัสสตทิฏฐิ  ๔
(๓๑)  ๕.  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีวาทะ
ว่า   บางอย่างเที่ยง   บางอย่างไม่เที่ยง   บัญญัติอัตตาและโลกว่า   บางอย่าง

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 23
เที่ยง  บางอย่างไม่เที่ยง   ด้วยวัตถุ  ๔.    ก็สมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น
อาศัยอะไร   ปรารภอะไร   จึงมีวาทะว่า   บางอย่างเที่ยง   บางอย่างไม่เที่ยง
ด้วยวัตถุ ๔.
๕.๑  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  บางครั้งบางคราวมีสมัยที่โลกนี้พินาศ
โดยล่วงไปช้านาน   เมื่อโลกกำลังพินาศอยู่    เหล่าสัตว์โดยมากย่อมเกิดใน
ชั้นอาภัสสรพรหม.    สัตว์เหล่านั้นได้สำเร็จทางใจ    มีปีติเป็นอาหาร   มี
รัศมีในตัวเอง   เที่ยวไปในอากาศ  อยู่ในสถานที่สวยงาม   ดำรงอยู่ในภพ
นั้นตลอดกาลช้านาน.     ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    บางครั้งบางคราวมีสมัยที่
โลกนี้กลับเจริญโดยล่วงไปช้านาน  เมื่อโลกกำลังเจริญอยู่   ปรากฏว่าวิมาน
พรหมว่างเปล่า.     ครั้งนั้น     สัตว์ผู้ใดผู้หนึ่งจุติจากชั้นอาภัสสรพรหม
เพราะสิ้นอายุหรือเพราะสิ้นบุญ     ย่อมเข้าถึงวิมานพรหมที่ว่างเปล่า.   แม้
สัตว์ผู้นั้นก็ได้สำเร็จทางใจ   มีปีติเป็นอาหาร   มีรัศมีในตัวเอง  เที่ยวไปใน
อากาศได้    อยู่ในสถานที่สวยงาม     ดำรงอยู่ในภพนั้นตลอดกาลช้านาน.
เพราะสัตว์ผู้นั้นอยู่ในภพนั้นแต่ผู้เดียวเป็นเวลานาน     จึงเกิดความกระสัน
ดิ้นรนขึ้นว่า  โอหนอ  แม้สัตว์เหล่าอื่นก็พึงมาเป็นอย่างนี้บ้าง.
ต่อมาสัตว์เหล่าอื่นก็จุติจากชั้นอาภัสสรพรหม     เพราะสิ้นอายุหรือ
เพราะสิ้นบุญ       ย่อมเข้าถึงพรหมวิมาน      อันเป็นสหายของสัตว์ผู้นั้น.
แม้สัตว์เหล่านั้นก็ได้สำเร็จทางใจ      มีปีติเป็นอาหาร      มีรัศมีในตัวเอง
เที่ยวไปในอากาศได้         อยู่ในสถานที่สวยงาม        ดำรงอยู่ในภพนั้น
ตลอดกาลช้านาน.     ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    บรรดาสัตว์เหล่านั้น    สัตว์
ที่เกิดก่อนมีความคิดเห็นอย่างนี้ว่า  เราเป็นพรหม  เป็นมหาพรหม   เป็น
ใหญ่  ไม่มีใครข่มได้   เห็นถ่องแท้   เป็นผู้ใช้อำนาจ   เป็นอิสระ    เป็น

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 24
ผู้สร้าง     เป็นผู้เนรมิต    เป็นผู้ประเสริฐ    เป็นผู้บงการ   เป็นผู้มีอำนาจ
เป็นบิดาของหมู่สัตว์ผู้เป็นแล้ว   และกำลังเป็น    สัตว์เหล่านี้เราเนรมิตขึ้น
ข้อนั้นเพราะเหตุไร.     เพราะเราได้มีความคิดอย่างนี้มาก่อนว่า     โอหนอ
แม้สัตว์เหล่าอื่นก็พึงมาเป็นอย่างนี้บ้าง.         ความตั้งใจของเราเป็นเช่นนี้
และสัตว์เหล่านี้ก็ได้มาเป็นอย่างนี้แล้ว.
แม้พวกสัตว์ที่เกิดภายหลัง   ก็มีความคิดเห็นอย่างนี้ว่า   ท่านผู้เจริญ
นี้แลเป็นพรหม   เป็นมหาพรหม   เป็นใหญ่   ไม่มีใครข่มได้   เห็นถ่องแท้
เป็นผู้ใช้อำนาจ   เป็นอิสระ   เป็นผู้สร้าง  เป็นผู้เนรมิต   เป็นผู้ประเสริฐ
เป็นผู้บงการ   เป็นผู้มีอำนาจ    เป็นบิดาของหมู่สัตว์ผู้เป็นแล้ว   และกำลัง
เป็น     พวกเราอันพระพรหมผู้เจริญองค์นี้เนรมิตแล้ว.     ข้อนั้นเพราะ
เหตุไร    เพราะพวกเราได้เห็นพระพรหมผู้เจริญองค์นี้      เกิดในที่นี้ก่อน
ส่วนพวกเราเกิดมาภายหลัง.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  บรรดาสัตว์เหล่านั้น  สัตว์ที่เกิดก่อน   มีอายุ
ยืนกว่า   มีผิวพรรณงามกว่า    มีศักดิ์ใหญ่กว่า    ส่วนสัตว์ที่เกิดภายหลังมี
อายุน้อยกว่า  มีผิวพรรณทรามกว่า  มีศักดิ์น้อยกว่า.   ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ก็เป็นฐานะที่จะมีได้   ที่สัตว์ผู้ใดผู้หนึ่ง   จุติจากหมู่นั้นแล้วมาเป็นอย่างนี้
เมื่อมาเป็นอย่างนี้แล้ว     ก็ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต   เมื่อออกจาก
เรือนบวชเป็นบรรพชิตแล้ว   อาศัยความเพียรเป็นเครื่องเผากิเลส    อาศัย
ความเพียรที่ตั้งมั่น    อาศัยการประกอบเนือง ๆ   อาศัยความไม่ประมาท
อาศัยมนสิการโดยชอบแล้วสัมผัสเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องให้จิตตั้งมั่น
ตามระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนนั้นได้       เกินกว่านั้นไประลึก
ไม่ได้.   เขากล่าวอย่างนี้ว่า     ผู้ใดแลเป็นพรหมผู้เจริญ    เป็นมหาพรหม

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 25
เป็นใหญ่  ไม่มีใครข่มได้  เห็นถ่องแท้  เป็นผู้ใช้อำนาจ   เป็นอิสระ  เป็น
ผู้สร้าง    เป็นผู้เนรมิต    เป็นผู้ประเสริฐ    เป็นผู้บงการ    เป็นผู้มีอำนาจ
เป็นบิดาของหมู่สัตว์ผู้เป็นแล้วและกำลังเป็น   พระพรหมผู้เจริญใดเนรมิต
พวกเรา   พระพรหมผู้เจริญนั้น   เป็นผู้เที่ยง   ยั่งยืน  คงทน   มีความไม่
แปรปรวนเป็นธรรมดา    จักตั้งอยู่เที่ยงเสมอไปอย่างนั้นทีเดียว.       ส่วน
พวกเราที่พระพรหมผู้เจริญเนรมิตแล้วนั้น  เป็นผู้ไม่เที่ยง  ไม่ยังยืน  มีอายุ
น้อย    มีความเคลื่อนเป็นธรรมดาจึงมาเป็นอย่างนี้.   ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
นี้เป็นฐานะที่  ๑ ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง  อาศัยแล้ว  ปรารภแล้ว  จึงมี
วาทะว่าบางอย่างเที่ยง    บางอย่างไม่เที่ยง    บัญญัติอัตตาและโลก   ว่าบาง
อย่างเที่ยง  บางอย่างไม่เที่ยง.
(๓๒)   ๕.๒   อนึ่ง  ในฐานะที่ ๒   สมณพราหมณ์ผู้เจริญ  อาศัย
อะไร   ปรารภอะไร    จึงมีวาทะว่า    บางอย่างเที่ยง     บางอย่างไม่เที่ยง ๆ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  มีเทวดาชื่อว่าขิฑฑาปโทสิกะ  เทวดาพวกนั้น
พากันหมกมุ่นอยู่ในความรื่นรมย์     คือการสรวลเสและการเล่นหัวจนเกิน
เวลา.     เมื่อเทวดาพวกนั้นพากันหมกมุ่นอยู่ในความรื่นรมย์   คือ     การ
สรวลเสและการเล่นหัวจนเกินเวลา   ก็หลงลืมสติ  เทวดาพวกนั้นจึงจุติจาก
หมู่นั้น.     ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    ก็เป็นฐานะที่จะมีได้ที่สัตว์ผู้ใดผู้หนึ่งจุติ
จากหมู่นั้นแล้วมาเป็นอย่างนี้     เมื่อมาเป็นอย่างนี้แล้ว      ก็ออกจากเรือน
บวชเป็นบรรพชิต   เมื่อออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต    แล้วอาศัยความ
เพียรเป็นเครื่องเผากิเลส    อาศัยความเพียรที่ตั้งมั่น     อาศัยการประกอบ
เนือง ๆ  อาศัยความไม่ประมาท    อาศัยมนสิการโดยชอบ    แล้วสัมผัส
เจโตสมาธิอันเป็นเครื่องให้จิตตั้งมั่น      ระลึกถึงขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาล

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 26
ก่อนนั้นได้    เกินกว่านั้นไประลึกไม่ได้.    เขากล่าวอย่างนี้ว่า   ท่านพวก
เทวดาผู้มีใช่เหล่า   ขิฑฑาปโทสิกะ   ไม่หมกมุ่นอยู่ในความรื่นรมย์   คือ
การสรวลเสและการเล่นหัวจนเกินเวลา.       เมื่อเทวดาพวกนั้นไม่พากัน
หมกมุ่นอยู่ในความรื่นรมย์       คือการสรวลเสและการเล่นหัวจนเกินเวลา
ก็ไม่หลงลืมสติ.     เพราะไม่หลงลืมสติ     เทวดาพวกนั้นจึงไม่จุติจากหมู่
นั้น  เป็นผู้เที่ยง  ยั่งยืน   คงทน   มีความไม่แปรปรวนเป็นธรรมดา  จัก
ตั้งอยู่เที่ยงเสมอไปอย่างนั้นทีเดียว.     ส่วนพวกเราได้เป็นขิฑฑาปโทสิกะ
หมกมุ่นอยู่ในความรื่นรมย์      คือการสรวลเสและการเล่นหัวจนเกินเวลา.
เมื่อพวกเรานั้นพากันหมกมุ่นอยู่ในความรื่นรมย์    คือการสรวลเสและการ
เล่นหัวจนเกินเวลา   ก็หลงลืมสติ.     เพราะหลงลืมสติ   พวกเราจึงจุติจาก
หมู่นั้น  เป็นผู้ไม่เที่ยง  ไม่ยั่งยืน  มีอายุน้อย   มีจุติเป็นธรรมดา    ต้องมา
เป็นอย่างนี้    ดังนี้.     ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    นี้เป็นฐานะที่  ๒    ที่สมณ-
พราหมณ์พวกหนึ่งอาศัยแล้ว      ปรารภแล้ว     จึงมีวาทะว่าบางอย่างเที่ยง
บางอย่างไม่เที่ยง   บัญญัติอัตตาและโลก    ว่าบางอย่างเที่ยง    บางอย่างไม่
เที่ยง.
(๓๓)  ๕.๓  อนึ่ง ในฐานะที่ ๓ สมณพราหมณ์ผู้เจริญอาศัยอะไร
ปรารภอะไร   จึงมีวาทะว่า   บางอย่างเที่ยง      บางอย่างไม่เที่ยง    บัญญัติ
อัตตาและโลก   ว่าบางอย่างเที่ยง   บางอย่างไม่เที่ยง.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย     มีเทวดาชื่อว่ามโนปโทสิกะ.      เทวดาพวก
นั้นมักเพ่งโทษกันและกันเกินขอบเขต.      เมื่อเทวดาพวกนั้นเพ่งโทษกัน
และกันเกินขอบเขต   ย่อมคิดมุ่งร้ายกันและกัน    เมื่อต่างคิดมุ่งร้ายกันและ
กัน   จึงลำบากกายลำบากใจ   พากันจุติจากหมู่นั้น.   ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 27
ก็เป็นฐานะที่จะมีได้ที่สัตว์ผู้ใดผู้หนึ่งจุติจากหมู่นั้นแล้ว        มาเป็นอย่างนี้
เมื่อมาเป็นอย่างนี้แล้ว ก็ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต เมื่อออกจากเรือน
บวชเป็นบรรพชิตแล้ว   อาศัยความเพียรเป็นเครื่องเผากิเลส    อาศัยความ
เพียรที่ตั้งมั่น    อาศัยการประกอบเนือง ๆ  อาศัยความไม่ประมาท   อาศัย
มนสิการโดยชอบแล้วสัมผัสเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องให้จิตตั้งมั่น   ระลึกถึง
ขันธ์ที่เคยอาศัยอยู่ในกาลก่อนนั้นได้   เกินกว่านั้นไประลึกไม่ได้.   เขากล่าว
อย่างนี้ว่า   ท่านพวกเทวดาผู้มิใช่เหล่ามโนปโทสิกะ    ไม่เพ่งโทษกันและ
กันเกินขอบเขต.      เมื่อเทวดาพวกนั้นไม่เพ่งโทษกันและกันเกินขอบเขต
ย่อมไม่คิดมุ่งร้ายกันและกัน   เมื่อต่างไม่คิดมุ่งร้ายกันและกัน   จึงไม่ลำบาก
กายไม่ลำบากใจ.    เทวดาพวกนั้นจึงไม่จุติจากหมู่นั้น   เป็นผู้เที่ยง   ยั่งยืน
คงทน   มีความไม่แปรปรวนเป็นธรรมดา   จักตั้งอยู่เที่ยงเสมอไปอย่างนั้น
ทีเดียว.   ส่วนพวกเราได้เป็นเหล่ามโนปโทสิกะ     มัวเพ่งโทษกันและกัน
เกินขอบเขต.      เมื่อพวกเรานั้นพากันเพ่งโทษกันเกินขอบเขต .  ย่อมคิด
มุ่งร้ายกันและกัน     เมื่อพวกเราต่างคิดมุ่งร้ายกันและกัน      จึงลำบากกาย
ลำบากใจ.     พวกเราจุติจากหมู่นั้น   เป็นผู้ไม่เที่ยง   ไม่ยั่งยืน   มีอายุน้อย
มีจุติเป็นธรรมดา  ต้องมาเป็นอย่างนี้    เช่นนี้.     ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  นี้
เป็นฐานะที่  ๓  ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง   อาศัยแล้ว   ปรารภแล้ว   จึงมี
วาทะว่าบางอย่างเที่ยง         บางอย่างไม่เที่ยง          บัญญัติอัตตาและโลก
ว่าบางอย่างเที่ยง   บางอย่างไม่เที่ยง.
(๓๔)    ๘.๔  อนึ่ง  ในฐานะที่  ๔  สมณพราหมณ์ผู้เจริญ    อาศัย
อะไร  ปรารภอะไร  จึงมีวาทะว่าบางอย่างเที่ยง  บางอย่างไม่เที่ยงบัญญัติ
อัตตาและโลก   ว่าบางอย่างเที่ยง   บางอย่างไม่เที่ยง.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 28
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   สมณะหรือพราหมณ์บางพวกในโลกนี้    เป็น
นักตรึก  เป็นนักตรอง   กล่าวแสดงปฏิภาณของตนตามที่ตรึกได้     ตามที่
ตรองได้อย่างนี้ว่า   สิ่งที่เรียกว่าตาก็ดี   หูก็ดี   จมูกก็ดี   ลิ้นก็ดี  กายก็ดี  นี้
ชื่อว่าอัตตา   เป็นของไม่เที่ยง   ไม่ยั่งยืน    ไม่คงทน    มีความแปรปรวน
เป็นธรรมดา.   ส่วนสิ่งที่เรียกว่าจิต   หรือใจ   หรือวิญญาณ  นี้ชื่อว่าอัตตา
เป็นของเที่ยง   ยั่งยืน   คงทน   มีความไม่แปรปรวนเป็นธรรมดา    จักตั้ง
อยู่เที่ยงเสมอไปอย่างนั้นทีเดียว.    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   นี้เป็นฐานะที่ ๔
ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งอาศัยแล้ว   จึงมีวาทะว่าบางอย่างเที่ยง  บางอย่าง
ไม่เที่ยง   บัญญัติอัตตาและโลก   ว่าบางอย่างเที่ยง    บางอย่างไม่เที่ยง.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  สมณพราหมณ์เหล่านั้น  มีวาทะ  ว่าบางอย่าง
เที่ยง   บางอย่างไม่เที่ยง    บัญญัติอัตตาและโลก   ว่าบางอย่างเที่ยง     บาง
อย่างไม่เที่ยง   ด้วยวัตถุ  ๔  นี้แล.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง    มี
วาทะว่า   บางอย่างเที่ยง   บางอย่างไม่เที่ยง   บัญญัติอัตตาและโลก  ว่าบาง
อย่างเที่ยง  บางอย่างไม่เที่ยง  สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้นทั้งหมด   ย่อม
บัญญัติด้วยวัตถุ  ๔  นี้เท่านั้น    หรือด้วยอย่างใดอย่างหนึ่งใน  ๔  อย่างนี้
นอกจากนี้ไม่มี.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   เรื่องนี้ตถาคตรู้ชัดว่า   ฐานะเป็นที่ตั้งแห่ง
วาทะเหล่านี้  ที่บุคคลถือไว้อย่างนั้นแล้ว   ยึดไว้อย่างนั้นแล้ว   ย่อมมี
คติอย่างนั้น  มีภพเบื้องหน้าอย่างนั้น.   อนึ่ง  ตถาคตย่อมรู้เหตุนั้นชัด
และรู้ชัดยิ่งขึ้นไปกว่านั้น   ทั้งไม่ยึดมั่นความรู้ชัดนั้นด้วย.     และเมื่อ
ไม่ยึดมั่น    ตถาคตก็รู้ความดับสนิทเฉพาะตนเอง  รู้ความเกิด  ความดับ

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 29
คุณ  โทษ   แห่งเวทนาทั้งหลาย  กับอุบายเป็นเครื่องออกไปจากเวทนา
เหล่านั้น  ตามความเป็นจริง.    เพราะไม่ยึดมั่น  ตถาคตจึงหลุดพ้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรมเหล่านี้แล ที่ลึกซึ้ง  เห็นได้ยาก  รู้ตาม
ได้ยาก  สงบ  ประณีต   จะคาดคะเนเอาไม่ได้  ละเอียด   รู้ได้เฉพาะ
บัณฑิต  ที่ตถาคตทำให้แจ้งด้วยปัญญารู้ยิ่งเอง  แล้วสอนผู้อันให้รู้แจ้ง
อันเป็นเหตุให้คนทั้งหลายกล่าวชมตถาคตตามความเป็นจริงโดยชอบ.
 
อันตานันติกทิฏฐิ  ๔
(๓๕)  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง   มีวาทะ
ว่า    โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด    บัญญัติว่าโลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด    ด้วย
วัตถุ  ๔.
ก็สมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น     อาศัยอะไร   ปรารภอะไร    จึงมี
วาทะว่า  โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด   บัญญัติว่า  โลกมีที่สุดและไม่มีสุด  ด้วย
วัตถุ  ๔.
๙.๑    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย       สมณะหรือพราหมณ์บาง
พวกในโลกนี้    อาศัยความเพียรเครื่องเผากิเลส    อาศัยความเพียรที่ตั้งมั่น
อาศัยการประกอบเนือง  ๆ  อาศัยความไม่ประมาท  อาศัยมนสิการโดยชอบ
แล้วสัมผัสเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องให้จิตตั้งมั่น   ย่อมมีความสำคัญในโลก
ว่ามีที่สุด.    เขากล่าวอย่างนี้ว่า    โลกนี้มีที่สุด   กลมโดยรอบ.     ข้อนั้น
เพราะเหตุไร.    เพราะข้าพเจ้าอาศัยความเพียรเครื่องเผากิเลส   อาศัยความ
เพียรที่ตั้งมั่น   อาศัยการประกอบเนือง ๆ  อาศัยความไม่ประมาท    อาศัย
มนสิการโดยชอบ   แล้วสัมผัสเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องให้จิตตั้งมั่น    จึงมี

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 30
ความสำคัญในโลกว่ามีที่สุด.  ด้วยการสัมผัสคุณวิเศษนี้   ข้าพเจ้าจึงรู้อาการ
ที่โลกนี้มีที่สุด    กลมโดยรอบ.    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    นี้เป็นฐานะที่  ๑
ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่งอาศัยแล้ว   ปรารภแล้ว   มีวาทะว่า    โลกมีที่สุด
และไม่มีที่สุด   บัญญัติว่า   โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด.
(๓๖)  ๑๐.๒  อนึ่ง  ในฐานะที่  ๒  สมณพราหมณ์ผู้เจริญ  อาศัย
อะไร   ปรารภอะไร    จึงมีวาทะว่า    โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด   บัญญัติว่า
โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย           สมณะหรือพราหมณ์บางพวกในโลกนี้
อาศัยความเพียรเครื่องเผากิเลส อาศัยความเพียรที่ตั้งมั่น อาศัยการประกอบ
เนือง ๆ อาศัยความไม่ประมาท   อาศัยมนสิการโดยชอบ   แล้วสัมผัสเจโต-
สมาธิอันเป็นเครื่องให้จิตตั้งมั่น       ย่อมมีความสำคัญในโลกว่าไม่มีที่สุด.
เขากล่าวอย่างนี้ว่า  โลกนี้ไม่มีที่สุด  หาที่สุดรอบมิได้  สมณพราหมณ์พวก
ที่กล่าวว่า  โลกนี้มีที่สุด  กลมโดยรอบ  นั้นเป็นเท็จ.     โลกนี้ไม่มีที่สุดหา
ที่สุดรอบมิได้.   ข้อนั้นเพราะเหตุไร.     เพราะข้าพเจ้าอาศัยความเพียรเผา
กิเลส   อาศัยความเพียรที่ตั้งมั่น  อาศัยการประกอบเนือง ๆ  อาศัยความไม่
ประมาท อาศัยมนสิการโดยชอบ  แล้วสัมผัสเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องให้จิต
ตั้งมั่น  จึงมีความสำคัญในโลก   ว่าไม่มีที่สุด.     ด้วยการสัมผัสคุณวิเศษนี้
ข้าพเจ้าจึงรู้อาการที่โลกนี้ไม่มีที่สุดหาที่สุดรอบมิได้.   ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
นี้เป็นฐานะที่  ๒  ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง   อาศัยแล้ว  ปรารภแล้ว   มี
วาทะว่า  โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด   บัญญัติว่า  โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด.
(๓๗)  ๑๑.๓   อนึ่ง  ในฐานะที่  ๓  สมณพราหมณ์ผู้เจริญอาศัย
อะไร  ปรารภอะไร จึงมีวาทะว่า โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด  บัญญัติว่า  โลก

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 31
มีที่สุดและไม่มีที่สุด.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย           สมณะหรือพราหมณ์บางพวกในโลกนี้
อาศัยความเพียรเครื่องเผากิเลส       อาศัยความเพียรที่ตั้งมั่น       อาศัยการ
ประกอบเนือง ๆ อาศัยความไม่ประมาท     อาศัยมนสิการโดยชอบ    แล้ว
สัมผัสเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องให้จิตตั้งมั่น      ย่อมมีความสำคัญในโลกว่า
ด้านบนด้านล่างมีที่สุด   ด้านขวางไม่มีที่สุด.     เขากล่าวอย่างนี้ว่า   โลกนี้
ทั้งมีที่สุด  ทั้งไม่มีที่สุด  สมณพราหมณ์พวกที่กล่าวว่า โลกนี้มีที่สุด  กลม
โดยรอบ  นั้นเป็นเท็จ.   แม้สมณพราหมณ์พวกที่กล่าวว่า  โลกนี้ไม่มีที่สุด
หาที่สุดรอบมิได้    นั้นก็เป็นเท็จ.     โลกนี้     ทั้งมีที่สุด     ทั้งไม่มีที่สุด.
ข้อนั้นเพราะเหตุไร.            เพราะข้าพเจ้าอาศัยความเพียรเครื่องเผากิเลส
อาศัยความเพียรที่ตั้งมั่น     อาศัยการประกอบเนือง  ๆ    อาศัยความไม่
ประมาท   อาศัยมนสิการโดยชอบ    แล้วสัมผัสเจโตสมาธิอันเป็นเครื่องให้
จิตตั้งมั่น  จึงมีความสำคัญในโลกว่า   ด้านบนด้านล่างมีที่สุด    ด้านขวาง
ไม่มีที่สุด.    ด้วยการสัมผัสคุณวิเศษนี้      ข้าพเจ้าจึงรู้อาการที่โลกนี้ทั้งมีที่
สุด  ทั้งไม่มีที่สุด.  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  นี้เป็นฐานะที่ ๓ ที่สมณพราหมณ์
พวกหนึ่ง   อาศัยแล้ว   ปรารภแล้ว    มีวาทะว่า    โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด
บัญญัติว่า  โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด.
(๓๘)  ๑๒.๔  อนึ่งในฐานะที่  ๔    สมณพราหมณ์ผู้เจริญอาศัย
อะไร  ปรารภอะไร   จึงมีวาทะว่า   โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด    บัญญัติว่า
โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย     สมณะหรือพราหมณ์บางพวกในโลกนี้   เป็น
นักตรึก เป็นนักตรอง กล่าวแสดงปฏิภาณของตนตามที่ตรึกได้  ตามที่ตรอง

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 32
ได้อย่างนี้ว่า  โลกนี้มีที่สุดก็มิใช่   ไม่มีที่สุดก็มิใช่    สมณพราหมณ์พวกที่
กล่าวว่า โลกนี้มีที่สุด   กลมโดยรอบ แม้นั้นก็เป็นเท็จ.   แม้สมณพราหมณ์
พวกที่กล่าวว่า โลกนี้ไม่มีที่สุด  หาที่สุดรอบมิได้   แม้นั้นก็เป็นเท็จ.   ถึง
สมณพราหมณ์พวกที่กล่าวว่าโลกนี้    ทั้งมีที่สุด   ทั้งไม่มีที่สุด  แม้นั้นก็เป็น
เท็จ.    โลกนี้มีที่สุดก็มิใช่    ไม่มีที่สุดก็มิใช่.     ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   นี้
เป็นฐานะที่  ๔  ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง    อาศัยแล้ว    ปรารภแล้ว   มี
วาทะว่า  โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด   บัญญัติว่า  โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย     สมณพราหมณ์เหล่านั้นมีวาทะว่า    โลกมีที่
สุดและไม่มีที่สุด บัญญัติว่า โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด  ด้วยวัตถุ  ๔ นี้แล.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย     ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง   มี
วาทะว่า โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด บัญญัติว่า โลกมีที่สุดและไม่มีที่สุด สมณะ
หรือพราหมณ์เหล่านั้นทั้งหมด  ย่อมบัญญัติด้วยวัตถุ  ๔ นี้เท่านั้น    หรือ
ด้วยอย่างใดอย่างหนึ่ง   ใน  ๔  อย่างนี้    นอกจากนี้ไม่มี.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย      เรื่องนี้ตถาคตรู้ชัดว่า      ฐานะเป็นที่ตั้ง
แห่งวาทะเหล่านี้  ที่บุคคลถือไว้อย่างนั้นแล้ว  ยึดไว้อย่างนั้นแล้ว   ย่อม
มีคติอย่างนั้น  มีภพเบื้องหน้าอย่างนั้น.    อนึ่ง    ตถาคตย่อมรู้เหตุนั้น
ชัดและรู้ชัดยิ่งขึ้นไปกว่านั้น   ทั้งไม่ยึดมั่นความรู้ชัดนั้นด้วย.      และ
เมื่อไม่ยึดมั่น       ตถาคตก็รู้ความดับสนิทเฉพาะตนเอง      รู้ความเกิด
ความดับ  คุณ  โทษ   แห่งเวทนาทั้งหลาย    กับอุบายเป็นเครื่องออก
ไปจากเวทนาเหล่านั้น      ตามความเป็นจริง.       ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
เพราะไม่ยึดมั่น  ตถาคตจึงหลุดพ้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    ธรรมเหล่านี้แล    ที่ลึกซึ้ง    เห็นได้ยาก

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 33
รู้ตามได้ยาก   สงบ  ประณีต   จะคาดคะเนเอาไม่ได้   ละเอียด   รู้ได้
เฉพาะบัณฑิต  ที่ตถาคตทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง  แล้วสอนผู้อื่น
ให้รู้แจ้ง   อันเป็นเหตุให้คนทั้งหลายกล่าวชมตถาคตตามความเป็นจริง
โดยชอบ.
 
อมราวิกเขปิกทิฏฐิ  ๔
(๓๙)  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง    มีความ
เห็นดิ้นได้ไม่ตายตัว  เมื่อถูกถามปัญหาในเรื่องนั้น  ๆ   ย่อมกล่าววาจาดิ้น
ได้ไม่ตายตัว  ด้วยวัตถุ ๔.      ก็สมณพราหมณ์ผู้เจริญพวกนั้น     อาศัย
อะไร    จึงมีความเห็นดิ้นได้ไม่ตายตัว     เมื่อถูกถามปัญหาในเรื่องนั้น ๆ
ย่อมกล่าววาจาดิ้นได้ไม่ตายตัว  ด้วยวัตถุ.
๑๓.๑  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  สมณะหรือพราหมณ์บางพวก
ในโลกนี้   ไม่รู้ชัดตามความเป็นจริงว่านี้เป็นกุศล   นี้เป็นอกุศล.      เขามี
ความคิดอย่างนี้ว่า  เราไม่รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า  นี้เป็นกุศล นี้เป็นอกุศล
ก็ถ้าเราไม่รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า    นี้เป็นกุศล    นี้เป็นอกุศล     จะพึง
พยากรณ์ว่า  นี้เป็นกุศล    หรือนี้เป็นอกุศล    คำพยากรณ์ของเรานั้นพึง
เป็นคำเท็จ  คำเท็จของเรานั้นพึงเป็นความเดือนร้อนแก่เรา  ความเดือนร้อน
นั้นพึงเป็นอันตรายแก่เรา.      ด้วยเหตุนี้    เขาจึงไม่พยากรณ์ว่า     นี้เป็น
กุศล   นี้เป็นอกุศล   เพราะกลัวการกล่าวเท็จ    เพราะเกลียดการกล่าวเท็จ
เมื่อถูกถามปัญหาในเรื่องนั้น ๆ จึงกล่าววาจาดิ้นได้ไม่ตายตัวว่า  ความเห็น
ของเราว่า  อย่างนี้ก็มิใช่   อย่างนั้นก็มิใช่    อย่างอื่นก็มิใช่    ไม่ใช่ก็มิใช่
มิใช่ไม่ใช่ก็มิใช่.  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  นี้เป็นฐานะที่  ๑  ที่สมณพราหมณ์

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 34
พวกหนึ่ง   อาศัยแล้ว   ปรารภแล้ว   มีความเห็นดิ้นได้ไม่ตายตัว    เมื่อถูก
ถามปัญหาในเรื่องนั้น ๆ จึงกล่าววาจาดิ้นได้ไม่ตายตัว.
(๔๐)  ๑๔.๒  อนึ่ง  ในฐานะที่ ๒ สมณพราหมณ์ผู้เจริญ อาศัย
อะไร  ปรารภอะไร  จึงมีความเห็นดิ้นได้ไม่ตายตัว   เมื่อถูกถามปัญหาใน
เรื่องนั้น ๆ ย่อมกล่าววาจาดิ้นได้ไม่ตายตัว.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  สมณะหรือพราหมณ์บางพวกในโลกนี้     ไม่รู้
ชัดตามความเป็นจริงว่า  นี้เป็นกุศล  นี้เป็นอกุศล.     เขามีความคิดอย่างนี้
ว่า   เราไม่รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า   นี้เป็นกุศล   นี้เป็นอกุศล  ก็ถ้าเราไม่
รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า   นี้เป็นกุศล    นี้เป็นอกุศล    จะพึงพยากรณ์ว่า
นี้เป็นกุศล   หรือนี้เป็นอกุศล   ความพอใจ   ความติดใจ   ความเคืองใจ
หรือความขัดใจในข้อนั้นพึงมีแก่เรา     ข้อที่มีความพอใจ     ความติดใจ
ความเคืองใจ  หรือความขัดใจนั้น   จะพึงเป็นอุปาทานของเรา  อุปาทาน
ของเรานั้นจะพึงเป็นความเดือนร้อนแก่เรา   ความเดือนร้อนของเรานั้นจะ
พึงเป็นอันตรายแก่เรา.   ด้วยเหตุฉะนี้    เขาจึงไม่พยากรณ์ว่า   นี้เป็นกุศล
นี้เป็นอกุศล  เพราะกลัวอุปาทาน  เพราะเกลียดอุปาทาน เมื่อถูกถามปัญหา
ในเรื่องนั้น ๆ จึงกล่าววาจาดิ้นได้ไม่ตายตัวว่า ความเห็นของเราว่า อย่างนี้
ก็มิใช่    อย่างนั้นก็มิใช่  อย่างอื่นก็มิใช่    ไม่ใช่ก็มิใช่    มิใช่ไม่ใช่ก็มิใช่.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นฐานะที่ ๒ ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง อาศัยแล้ว
ปรารภแล้ว  มีความเห็นดิ้นได้ไม่ตายตัว   เมื่อถูกถามปัญหาในเรื่องนั้น  ๆ
จึงกล่าววาจาดิ้นได้ไม่ตายตัว.
(๔๑)   ๑๕.๓  อนึ่ง  ในฐานะที่ ๓  สมณพราหมณ์ผู้เจริญ อาศัย
อะไร  มีความเห็นดิ้นได้ไม่ตายตัว  เมื่อถูกถามปัญหาในเรื่องนั้น ๆ  ย่อม

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 35
กล่าววาจาดิ้นได้ไม่ตายตัว.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมณะหรือพราหมณ์บางพวกในโลกนี้  ไม่รู้ชัด
ตามความเป็นจริงว่า   นี้เป็นกุศล   นี้เป็นอกุศล.     เขามีความคิดอย่างนี้
ว่า   เราไม่รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า   นี้เป็นกุศล    นี้เป็นอกุศล    ก็ถ้าเรา
ไม่รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า  นี้เป็นกุศล   นี้เป็นอกุศล   จะพึงพยากรณ์ว่า
นี้เป็นกุศล   หรือนี้เป็นอกุศล   ก็สมณพราหมณ์ผู้เป็นบัณฑิต   มีปัญญา
ละเอียด  ชำนาญการโต้วาทะ  เป็นดุจคนแม่นธนู มีอยู่แล  สมณพราหมณ์
เหล่านั้น   เหมือนจะเที่ยวทำลายวาทะด้วยปัญญา   เขาจะพึงซักไซ้  ไล่เลียง
สอบสวนเราในข้อนั้น  เราไม่อาจโต้ตอบเขาได้   การที่เราโต้ตอบเขาไม่ได้
นั้น   จะเป็นความเดือนร้อนแก่เรา  ความเดือดร้อนของเรานั้น  จะพึงเป็น
อันตรายแก่เรา.    ด้วยเหตุฉะนี้    เขาจึงไม่พยากรณ์ว่า   นี้เป็นกุศล  นี้เป็น
อกุศล   เพราะกลัวอุปาทาน   เพราะเกลียดอุปาทาน  เมื่อถูกถามปัญหาใน
เรื่องนั้น ๆ  จึงกล่าววาจาดิ้นได้ไม่ตายตัวว่า   ความเห็นของเราว่า   อย่างนี้
ก็มิใช่   อย่างนั้นก็มิใช่   อย่างอื่นก็มิใช่   ไม่ใช่ก็มิใช่  มิใช่ไม่ใช่ก็มิใช่.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  นี้เป็นฐานะที่   ๓  ที่สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง
อาศัยแล้ว   ปรารภแล้ว    มีความเห็นดิ้นได้ไม่ตายตัว    เมื่อถูกถามปัญหา
ในเรื่องนั้น.     จึงกล่าววาจาดิ้นได้ไม่ตายตัว.
(๔๒)   ๑๖.๔  อนึ่ง  ในฐานะที่  ๔ สมณพราหมณ์ผู้เจริญ  อาศัย
อะไร   ปรารภอะไร    มีความเห็นดิ้นได้ไม่ตายตัว    เมื่อถูกถามปัญหาใน
เรื่องนั้น  ๆ   ย่อมกล่าววาจาดิ้นได้ไม่ตายตัว.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  สมณะหรือพราหมณ์บางพวกในโลกนี้    เป็น
คนเขลา   งมงาย.    เพราะเป็นคนเขลา  เพราะเป็นคนงมงาย   เมื่อถูกถาม

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 36
ปัญหาในเรื่องนั้น  ๆ     ย่อมกล่าววาจาดิ้นได้ไม่ตายตัว      ถ้าท่านถามเรา
อย่างนี้ว่า   โลกอื่นมีหรือ    ถ้าเรามีความเห็นว่า    โลกอื่นมี    เราก็จะพึง
พยากรณ์ว่า   โลกอื่นมี  แต่ความเห็นของเราว่า   อย่างนี้ก็มิใช่   อย่างนั้นก็
มิใช่   อย่างอื่นก็มิใช่  ไม่ใช่ก็มิใช่  มิใช่ไม่ใช่ก็มิใช่ ถ้าท่านถามเราว่า โลก
อื่นไม่มีหรือ  เราก็จะพึงพยากรณ์ว่า  โลกอื่นมีด้วย  ไม่มีด้วย  ถ้าเรามีความ
เห็นว่าไม่มี   เราก็จะพึงพยากรณ์ว่า  ไม่มี  ถ้าท่านถามเราว่า   โลกอื่นมีด้วย
ไม่มีด้วยหรือ   ถ้าเรามีความเห็นว่า  มีด้วย   ไม่มีด้วย   เราก็จะพึงพยากรณ์
ว่ามีด้วย   ไม่มีด้วย . . . .  ถ้าท่านถามเราว่า   โลกหน้ามีก็มิใช่    ไม่มีก็มิใช่
หรือ ถ้าเรามีความเห็นว่า มีก็มิใช่ ไม่มีก็มิใช่ เราก็จะพึงพยากรณ์ว่า มีก็มิใช่
ไม่มีก็มิใช่   ถ้าท่านถามเราว่า    สัตว์เกิดผุดขึ้นมีหรือ     ถ้าเรามีความเห็น
ว่ามี   เราก็จะพึงพยากรณ์ว่า    มี . . . . ถ้าท่านถามเราว่า    สัตว์เกิดผุดขึ้น
ไม่มีหรือ   ถ้าเรามีความเห็นว่า   ไม่มี   เราก็จะพึงพยากรณ์ว่า  ไม่มี . . . . .
ถ้าท่านถามเราว่า   สัตว์เกิดผุดขึ้น   มีด้วย    ไม่มีด้วยหรือ    ถ้าเรามีความ
เห็นว่า   มีด้วยไม่มีด้วย   เราก็จะพึงพยากรณ์ว่า  มีด้วย  ไม่มีด้วย . .     ถ้า
ท่านถามเราว่า   สัตว์เกิดผุดขึ้นมีก็มิใช่   ไม่มีก็มิใช่หรือ  ถ้าเรามีความเห็น
ว่า  มีก็มิใช่  ไม่มีก็มิใช่  เราก็จะพึงพยากรณ์ว่า  มีก็มิใช่ ไม่มีก็มิใช่ . .
ถ้าท่านถามเราว่า   ผลวิบากแห่งกรรมที่ทำดีทำชั่ว   มีหรือ     ถ้าเรามีความ
เห็นว่ามี   เราก็จะพึงพยากรณ์ว่า   มี . . . . ถ้าท่านถามเราว่า   ผลวิบากแห่ง
กรรมที่ทำดีทำชั่วไม่มีหรือ ถ้าเรามีความเห็นว่า  ไม่มี  เราก็จะพึงพยากรณ์
ว่า  ไม่มี . . . .   ถ้าท่านถามเราว่า   ผลวิบากแห่งกรรมที่ทำดีทำชั่ว  มีด้วย
ไม่มีด้วยหรือ   ถ้าเรามีความเห็นว่า   มีด้วย   ไม่มีด้วย  เราก็จะพึงพยากรณ์
ว่า  มีด้วย   ไม่มีด้วย . . . .   ถ้าท่านถามเราว่า    ผลวิบากแห่งกรรมที่ทำดี

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 37
ทำชั่ว  มีก็มิใช่   ไม่มีก็มิใช่หรือ  ถ้าเรามีความเห็นว่า  มีก็มิใช่  ไม่มีก็มิใช่
เราก็จะพึงพยากรณ์ว่า    มีก็มิใช่    ไม่มีก็มิใช่ . . . . .    ถ้าท่านถามเราว่า
เบื้องหน้าแต่ความตาย สัตว์มีอยู่หรือ  ถ้าเรามีความเห็นว่า  มีอยู่  เราก็จะพึง
พยากรณ์ว่า   มีอยู่ . . . . .   ถ้าท่านถามเราว่า   เบื้องหน้าแต่ความตาย  สัตว์
ไม่มีอยู่หรือ ถ้าเรามีความเห็นว่า ไม่มีอยู่ เราก็จะพึงพยากรณ์ว่า ไม่มีอยู่ . . .
ถ้าท่านถามเราว่า   เบื้องหน้าแต่ความตาย   สัตว์มีอยู่ด้วย   ไม่มีอยู่ด้วยหรือ
ถ้าเรามีความเห็นว่า   มีอยู่ด้วย   ไม่มีอยู่ด้วย   เราก็จะพึงพยากรณ์ว่า   มีอยู่
ด้วย   ไม่มีอยู่ด้วย. . . . ถ้าท่านถามเราว่า    เบื้องหน้าแต่ความตาย    สัตว์มี
อยู่ก็มิใช่  ไม่มีอยู่ก็มิใช่หรือ   ถ้าเรามีความเห็นว่า มีอยู่ก็มิใช่ ไม่มีอยู่ก็มิใช่
เราก็จะพึงพยากรณ์ว่า   มีอยู่ก็มิใช่   ไม่มีอยู่ก็มิใช่    แต่ความเห็นของเราว่า
อย่างนี้ก็มิใช่     อย่างนั้นก็มิใช่    อย่างอื่นก็มิใช่   ไม่ใช่ก็มิใช่   มิใช่ไม่ใช่
ก็มิใช่        ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย      นี้เป็นฐานะที่ ๔ ที่สมณพราหมณ์
พวกหนึ่ง    อาศัยแล้ว   ปรารภแล้ว    มีความเห็นดิ้นได้ไม่ตายตัว   เมื่อถูก
ถามปัญหาในเรื่องนั้น ๆ ย่อมกล่าววาจาดิ้นได้ไม่ตายตัว.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    สมณพราหมณ์เหล่านั้น    มีความเห็นดิ้นได้
ไม่ตายตัว  เมื่อถูกถามปัญหาในเรื่องนั้น ๆ ย่อมกล่าววาจาดิ้นได้ไม่ตายตัว
ด้วยวัตถุ  ๔  นี้แล.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง     มี
ความเห็นดิ้นได้ไม่ตายตัว   เมื่อถูกถามปัญหาในเรื่องนั้น ๆ ย่อมกล่าววาจา
ดิ้นได้ไม่ตายตัว     สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้นทั้งหมดย่อมกล่าววาจาดิ้น
ได้ไม่ตายตัว  ด้วยเหตุ  ๔  ประการนี้เท่านั้น    หรือด้วยอย่างใดอย่างหนึ่ง
ใน   ๔  อย่างนี้   นอกจากนี้ไม่มี.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 38
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   เรื่องนี้ตถาคตรู้ชัดว่า   ฐานะเป็นที่ตั้งแห่ง
วาทะเหล่านี้  ที่บุคคลถือไว้อย่างนั้นแล้ว   ยึดไว้อย่างนั้นแล้ว   ย่อมมี
คติอย่างนั้น  มีภพเบื้องหน้าอย่างนั้น.     อนึ่ง   ตถาคตย่อมรู้เหตุนั้น
ชัด  และรู้ชัดยิ่งขึ้นไปกว่านั้น  ทั้งไม่ยึดมั่นความรู้ชัดนั้นด้วย.    และ
เมื่อไม่ยึดมั่น  ตถาคตก็รู้ความดับสนิท    เฉพาะตนเอง    รู้ความเกิด
ความดับ  คุณ  โทษ  แห่งเวทนาทั้งหลาย    กับอุบายเป็นเครื่องออก
ไปจากเวทนาเหล่านั้น  ตามความเป็นจริง.    เพราะไม่ยึดมั่น   ตถาคต
จึงหลุดพ้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   ธรรมเหล่านี้แล   ที่ลึกซึ้ง  เห็นได้ยาก   รู้
ตามได้ยาก   สงบ   ประณีต   จะคาดคะเนเอาไม่ได้   ละเอียด   รู้ได้
เฉพาะบัณฑิต  ที่ตถาคตทำรู้แจ้งด้วยปัญญารู้ยิ่งเอง    แล้วสอนผู้อื่น
ให้รู้แจ้ง  อันเป็นเหตุให้คนทั้งหลายกล่าวชมตถาคตตามความเป็นจริง
โดยชอบ.
 
อธิจจสมุปปันนิกทิฏฐิ  ๒
(๔๓)  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง   มีความ
เห็นว่า   อัตตาและโลกเกิดขึ้นลอย ๆ   ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเกิดขึ้น
ลอย ๆ ด้วยวัตถุ  ๒.  ก็สมณพราหมณ์ผู้เจริญพวกนั้น อาศัยอะไรปรารภ
อะไร   จึงมีความเห็นว่า   อัตตาและโลกเกิดขึ้นลอย ๆ   ย่อมบัญญัติอัตตา
และโลก  ว่าเกิดขึ้นลอย ๆ ด้วยวัตถุ  ๒.
๑๗.๑  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   มีเทวดาชื่ออสัญญีสัตว์   ก็
และเทวดาเหล่านั้น        ย่อมจุติจากหมู่นั้นเพราะความเกิดขึ้นแห่งสัญญา.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   ก็เป็นฐานะที่จะมีได้  ที่สัตว์ผู้ใดผู้หนึ่งจุติจากหมู่นั้น
แล้วมาเป็นอย่างนี้        เมื่อมาเป็นอย่างนี้แล้ว      ก็ออกจากเรือนบวชเป็น

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 39
บรรพชิต เมื่อออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต อาศัยความเพียรเป็นเครื่อง
เผากิเลส   อาศัยความเพียรที่ตั้งมั่น  อาศัยการประกอบเนือง ๆ อาศัยความ
ไม่ประมาท   อาศัยมนสิการโดยชอบ   แล้วสัมผัสเจโตสมาธิอันเป็นเครื่อง
ให้จิตตั้งมั่น ย่อมระลึกถึงความเกิดขึ้นแห่งสัญญาได้  เกินกว่านั้นไประลึก
ไม่ได้.   เขากล่าวอย่างนี้ว่า   อัตตาและโลกเกิดขึ้นลอย ๆ.     ข้อนั้นเพราะ
เหตุไร.       เพราะเมื่อก่อนข้าพเจ้าไม่ได้มีแล้ว     เดี๋ยวนี้ข้าพเจ้านั้นก็ไม่มี
จึงน้อมไปเพื่อความเป็นผู้สงบ.   ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   นี้เป็นฐานะที่ ๑ ที่
สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง  อาศัยแล้ว  ปรารภแล้ว  มีความเห็นว่า   อัตตา
และโลกเกิดขึ้นลอย ๆ ย่อมบัญญัติอัตตาและโลก   ว่าเกิดขึ้นลอย ๆ.
(๔๔)  ๑๘.๒  อนึ่งในฐานะที่ ๒ สมณพราหมณ์ผู้เจริญ อาศัย
อะไร  ปรารภอะไร  จึงมีความเห็นว่า  อัตตาและโลกเกิดขึ้นลอย ๆ บัญญัติ
อัตตาและโลก    ว่าเกิดขึ้นลอย ๆ.     ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย      สมณะหรือ
พราหมณ์พวกหนึ่งในโลกนี้เป็นนักตรึก  เป็นนักตรอง.    เขากล่าวแสดง
ปฏิภาณเอาเองตามที่ตรึกได้   ตามที่ตรองได้อย่างนี้ว่า    อัตตาและโลกเกิด
ขึ้นลอย ๆ.     ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย     นี้เป็นฐานะที่  ๒  ที่สมณพราหมณ์
พวกหนึ่ง   มีความเห็นว่า   อัตตาและโลกเกิดขึ้นลอย ๆ ย่อมบัญญัติอัตตา
และโลก   ว่าเกิดขึ้นลอย ๆ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  สมณพราหมณ์มีความเห็นว่า   อัตตาและโลก
เกิดขึ้นลอย ๆ   ย่อมบัญญัติอัตตาและโลก  ว่าเกิดขึ้นลอย ๆ ด้วยวัตถุ  ๒
นี้แล.    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง  มี
ความเห็นว่า  อัตตาและโลกเกิดขึ้นลอย ๆ ย่อมบัญญัติอัตตาและโลก ว่าเกิด
ขึ้นลอย ๆ  สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้นทั้งหมด  ย่อมบัญญัติด้วยวัตถุ ๒

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 40
นี้เท่านั้น  หรือด้วยอย่างใดอย่างหนึ่งใน  ๒  อย่างนี้   นอกจากนี้ไม่มี.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    เรื่องนี้ตถาคตรู้ชัดว่า    ฐานะเป็นที่ตั้งแห่ง
วาทะเหล่านี้      ที่บุคคลถือไว้อย่างนั้นแล้ว        ยึดไว้อย่างนั้นแล้ว
ย่อมมีคติอย่างนั้น  มีภพเบื้องหน้าอย่างนั้น.   อนึ่ง  ตถาคตย่อมรู้เหตุ
นั้นชัด  และรู้ชัดยิ่งขึ้นไปกว่านั้น  ทั้งไม่ยึดมั่นความรู้ชัดนั้นด้วย.  และ
เมื่อไม่ยึดมั่น    ตถาคตก็รู้ความดับสนิทเฉพาะตน   รู้ความเกิด  ความ
ดับ   คุณ โทษ   แห่งเวทนาทั้งหลาย    กับอุบายเป็นเครื่องออกไปจาก
เวทนาเหล่านั้น    ตามความเป็นจริง.    เพราะไม่ยึดมั่น       ตถาคตจึง
หลุดพ้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรมเหล่านี้แล  ที่ลึกซึ้ง เห็นได้ยาก รู้ตาม
ได้ยาก สงบ   ประณีต   จะคาดคะเนเอาไม่ได้   ละเอียด    รู้ได้เฉพาะ
บัณฑิต  ที่ตถาคตทำให้แจ้งด้วยปัญญารู้ยิ่งเอง  แล้วสอนผู้อื่นให้รู้แจ้ง
อันเป็นเหตุให้คนทั้งหลายกล่าวชมตถาคตตามความเป็นจริงโดยชอบ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    สมณพราหมณ์เหล่านั้น    กำหนดขันธ์ส่วน
อดีต  มีความเห็นไปตามขันธ์ส่วนอดีต   ปรารภขันธ์ส่วนอดีต    กล่าวคำ
แสดงวาทะหลายชนิดด้วยวัตถุ  ๑๘ นี้แล.    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   ก็สมณะ
หรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง    กำหนดขันธ์ส่วนอดีต    มีความเห็นไป
ตามขันธ์ส่วนอดีต   ปรารภขันธ์ส่วนอดีต   กล่าวคำแสดงวาทะหลายชนิด
สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้นทั้งหมด      ย่อมกล่าวด้วยเหตุ  ๑๘  นี้เท่านั้น
หรือด้วยเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง   ใน  ๑๘  อย่างนี้   นอกจากนี้ไม่มี.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   เรื่องนี้ตถาคตรู้ชัดว่า   ฐานะเป็นที่ตั้งแห่ง
วาทะเหล่านี้   ที่บุคคลถือไว้อย่างนั้นแล้ว   ยึดไว้อย่างนั้นแล้ว    ย่อมมี

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 41
คติอย่างนั้น  มีภพเบื้องหน้าอย่างนั้น.   อนึ่ง   ตถาคตย่อมรู้เหตุนั้นชัด
และรู้ชัดยิ่งขั้นไปกว่านั้น  ทั้งไม่ยึดมั่นความรู้ชัดนั้นด้วย.   และเมื่อไม่
ยึดมั่น  ตถาคตก็รู้ความดับสนิทเฉพาะตน  รู้ความเกิด   ความดับ  คุณ
โทษแห่งเวทนาทั้งหลาย กับอุบายเป็นเครื่องออกไปจากเวทนาเหล่านั้น
ตามความเป็นจริง.   ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  เพราะไม่ยึดมั่น   ตถาคตจึง
หลุดพ้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    ธรรมเหล่านี้แล    ที่ลึกซึ้ง    เห็นได้ยาก
รู้ตามได้ยาก  สงบ  ประณีต    จะคาดคะเนเอาไม่ได้  ละเอียด  รู้ได้
เฉพาะบัณฑิต      ที่ตถาคตทำให้แจ้งด้วยปัญญารู้ยิ่งเอง     แล้วสอนผู้
อื่นให้รู้แจ้ง    อันเป็นเหตุให้คนทั้งหลายกล่าวชมตถาคตตามความเป็น
จริงโดยชอบ.
 
อปรันตกัปปิกทิฏฐิ  ๔๔
(๔๕)  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย  มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง   กำหนด
ขันธ์ส่วนอนาคต    มีความเห็นตามขันธ์ส่วนอนาคต      ปรารภขันธ์ส่วน
อนาคต  กล่าวคำแสดงวาทะหลายชนิด  ด้วยวัตถุ  ๔๔.    ก็สมณพราหมณ์
ผู้เจริญเหล่านั้น    อาศัยอะไร    ปรารภอะไร   จึงกำหนดขันธ์ส่วนอนาคต
นี้ความเห็นตามขันธ์ส่วนอนาคต  ปรารภขันธ์ส่วนอนาคต  กล่าวคำแสดง
ทิฏฐิหลายชนิด   ด้วยวัตถุ  ๔๔.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 42
สัญญีทิฏฐิ  ๑๖
(๔๖)  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง   มีวาทะ
ว่า    หลังแต่ความตาย   อัตตามีสัญญา   ย่อมบัญญัติว่า   หลังแต่ความตาย
อัตตามีสัญญา   ด้วยวัตถุ  ๑๖.     ก็สมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น   อาศัย
อะไร    ปรารภอะไร    จึงมีวาทะว่า     หลังแต่ความตาย    อัตตามีสัญญา
ย่อมบัญญัติว่า      หลังแต่ความตาย      อัตตามีสัญญา      ด้วยวัตถุ  ๑๖.
สมณพราหมณ์เหล่านั้น    ย่อมบัญญัติอัตตานั้นว่า   เบื้องหน้าแต่ความตาย
๑๙.๑   อัตตาที่มีรูป  ยั่งยืน  มีสัญญา.
๒๐.๒   อัตตาที่ไม่มีรูป  ยั่งยืน  มีสัญญา.
๒๑.๓   อัตตาทั้งที่มีรูป  ทั้งที่ไม่มีรูป  ยั่งยืน มีสัญญา.
๒๒.๔   อัตตา  ทั้งที่มีรูปก็มิใช่  ทั้งที่ไม่มีรูปก็มิใช่ ยั่งยืน
มีสัญญา.
๒๓.๕   อัตตาที่มีที่สุด  ยั่งยืน  มีสัญญา.
๒๔.๖   อัตตาที่ไม่มีที่สุด  ยั่งยืน  มีสัญญา.
๒๕.๗   อัตตาทั้งที่มีที่สุด ทั้งที่ไม่มีที่สุด  ยั่งยืน มีสัญญา.
๒๖.๘   อัตตาทั้งที่มีที่สุดก็มิใช่       ทั้งที่ไม่มีที่สุดก็มิใช่
ยั่งยืน  มีสัญญา.
๒๗.๙   อัตตาที่มีสัญญาอย่างเดียวกัน   ยั่งยืน   มีสัญญา.
๒๘.๑๐  อัตตาที่มีสัญญาต่างกัน  ยั่งยืน  มีสัญญา.
๒๙.๑๑  อัตตาที่มีสัญญาน้อย  ยั่งยืน  มีสัญญา.
๓๐.๑๒  อัตตาที่มีสัญญาหาประมาณมิได้  ยั่งยืน มีสัญญา.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 43
๓๑.๑๓  อัตตาที่มีสุขอย่างเดียว   ยั่งยืน   มีสัญญา.
๓๒.๑๔  อัตตาที่มีทุกข์อย่างเดียว  ยั่งยืน  มีสัญญา.
๓๓.๑๕  อัตตาที่มีทั้งสุขทั้งทุกข์  ยั่งยืน  มีสัญญา.
๓๔.๑๖  อัตตาที่มีทุกข์ก็มิใช่  สุขก็มิใช่  ยั่งยืน  มีสัญญา.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    สมณพราหมณ์เหล่านั้น    มีวาทะว่า    เบื้อง
หน้าแต่ความตาย    อัตตามีสัญญา   ย่อมบัญญัติว่า    เบื้องหน้าแต่ความตาย
อัตตามีสัญญา   ด้วยวัตถุ  ๑๖  นี้แล.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง    มี
วาทะว่า    เบื้องหน้าแต่ความตาย    อัตตามีสัญญา    ย่อมบัญญัติว่า   เบื้อง
หน้าแต่ความตาย    อัตตามีสัญญา    สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้นทั้งหมด
ย่อมบัญญัติด้วยวัตถุ  ๑๖ นี้เท่านั้น หรือด้วยอย่างใดอย่างหนึ่งใน ๑๖ อย่าง
นี้   นอกจากนี้ไม่มี.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   เรื่องนี้ตถาคตรู้ชัดว่า   ฐานะเป็นที่ตั้งแห่ง
วาทะเหล่านี้   ที่บุคคลถือไว้อย่างนั้นแล้ว   ยึดไว้อย่างนั้นแล้ว  ย่อมมี
คติอย่างนั้น  มีภพเบื้องหน้าอย่างนั้น.    อนึ่ง  ตถาคตย่อมรู้เหตุนั้นชัด
และรู้ชัดยิ่งขึ้นไปกว่านั้น   ทั้งไม่ยึดมั่นความรู้ชัดนั้นด้วย.     และเมื่อ
ไม่ยึดมั่น   ตถาคตก็รู้ความดับสนิทเฉพาะตน   รู้ความเกิด   ความดับ
คุณ โทษ  แห่งเวทนาเหล่านั้น   ตามความเป็นจริง.    เพราะไม่ยึดมั่น
ตถาคตจึงหลุดพ้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    ธรรมเหล่านี้แล    ที่ลึกซึ้ง    เห็นได้ยาก
รู้ตามได้ยาก   สงบ  ประณีต   จะคาดคะเนเอาไม่ได้  ละเอียด    รู้ได้

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 44
เฉพาะบัณฑิต  ที่ตถาคตทำให้แจ้งด้วยปัญญารู้ยิ่งเอง    แล้วสอนผู้อื่น
ให้รู้แจ้ง        อันเป็นเหตุให้คนทั้งหลายกล่าวชมตถาคตตามความเป็น
จริงโดยชอบ.
 
อสัญญีทิฏฐิ  ๘
(๔๗)  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่งมีวาทะว่า
หลังแต่ความตาย    อัตตาไม่มีสัญญา    ย่อมบัญญัติว่า     หลังแต่ความตาย
อัตตาไม่มีสัญญา ด้วยวัตถุ  ๘.  ก็สมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น  อาศัยอะไร
ปรารภอะไร    จึงมีวาทะว่า    หลังแต่ความตาย    อัตตาไม่มีสัญญา   ย่อม
บัญญัติว่า    หลังแต่ความตาย    อัตตาไม่มีสัญญา    ด้วยวัตถุ  ๘.   สมณ-
พราหมณ์เหล่านั้น  ย่อมบัญญัติอัตตานั้นว่า  หลังแต่ความตาย
๓๕.๑   อัตตาที่มีรูป   ยั่งยืน  ไม่มีสัญญา.
๓๖.๒   อัตตาที่ไม่มีรูป   ยั่งยืน  ไม่มีสัญญา.
๓๗.๓   อัตตาทั้งที่มีรูป     ทั้งที่ไม่มีรูป     ยั่งยืน   ไม่มี
สัญญา.
๓๘.๔   อัตตาทั้งที่มีรูปก็มิใช่  ทั้งที่ไม่มีรูปก็มิใช่   ยั่งยืน
ไม่มีสัญญา.
๓๙.๕   อัตตาที่มีที่สุด  ยั่งยืน  ไม่มีสัญญา.
๔๐.๖   อัตตาที่ไม่มีที่สุด  ยั่งยืน  ไม่มีสัญญา.
๔๑.๗   อัตตาทั้งที่มีที่สุด   ทั้งที่ไม่มีที่สุด   ยั่งยืน  ไม่มี
สัญญา.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 45
๔๒.๘   อัตตาทั้งที่มีที่สุดก็มิใช่       ทั้งที่ไม่มีที่สุดก็มิใช่
ยั่งยืน  ไม่มีสัญญา.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   สมณพราหมณ์เหล่านั้น   มีวาทะว่า  หลังแต่
ความตาย   อัตตาไม่มีสัญญา   ย่อมบัญญัติว่า   หลังแต่ความตาย  อัตตาไม่มี
สัญญา   ด้วยวัตถุ ๘ เหล่านี้แล.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง    มี
วาทะว่า    หลังแต่ความตาย    อัตตาไม่มีสัญญา    ย่อมบัญญัติว่า   หลังแต่
ความตาย   อัตตาไม่มีสัญญา   สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้นทั้งหมด  ย่อม
บัญญัติด้วยวัตถุ  ๘  นี้เท่านั้น  หรือด้วยอย่างใดอย่างหนึ่ง    ใน  ๘  อย่างนี้
นอกจากนี้ไม่มี.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   เรื่องนี้ตถาคตรู้ชัดว่า    ฐานะเป็นที่ตั้งแห่ง
วาทะเหล่านี้  บุคคลถืออย่างนั้นแล้ว  ยึดอย่างนั้นแล้ว  ย่อมมีคติอย่าง
นั้น   มีภพเบื้องหน้าอย่างนั้น.    อนึ่ง   ตถาคตย่อมรู้เหตุนั้นชัด   และ
รู้ชัดยิ่งขึ้นไปกว่านั้น     ทั้งไม่ยึดมั่นความรู้ชัดนั้นด้วย.     และเมื่อไม่
ยึดมั่น  ตถาคตก็รู้ความดับสนิทเฉพาะตน   รู้ความเกิด  ความดับ  คุณ
โทษ      แห่งเวทนาทั้งหลาย      กับอุบายเป็นเครื่องออกไปจากเวทนา
เหล่านั้น    ตามความเป็นจริง.    เพราะไม่ยึดมั่น     ตถาคตจึงหลุดพ้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    ธรรมเหล่านี้แล    ที่ลึกซึ้ง    เห็นได้ยาก
รู้ตามได้ยาก  สงบ  ประณีต   จะคาดคะเนเอาไม่ได้  ละเอียด   รู้ได้
เฉพาะบัณฑิต   ที่ตถาคตทำให้แจ้งด้วยปัญญารู้ยิ่งเอง   แล้วสอนผู้อื่น
ให้รู้แจ้ง   อันเป็นเหตุให้คนทั้งหลายกล่าวชมตถาคตตามความเป็นจริง
โดยชอบ.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 46
เนวสัญญีนาสัญญีทิฏฐิ  ๘
(๔๘)  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง  มีวาทะ
ว่า  หลังแต่ความตาย  อัตตามีสัญญาก็มิใช่  ไม่มีสัญญาก็มิใช่  ย่อมบัญญัติ
ว่า  หลังแต่ความตาย    อัตตามีสัญญาก็มิใช่    ไม่มีสัญญาก็มิใช่   ด้วยวัตถุ
๘.   ก็สมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น    อาศัยอะไร   ปรารภอะไร   จึงมี
วาทะว่า  หลังแต่ความตาย   อัตตามีสัญญาก็มิใช่   ไม่มีสัญญาก็มิใช่   ย่อม
บัญญัติว่า  หลังแต่ความตาย  อัตตามีสัญญาก็มิใช่  ไม่มีสัญญาก็มิใช่  ด้วย
วัตถุ  ๘.   สมณพราหมณ์เหล่านั้น      ย่อมบัญญัติอัตตานั้นว่า     หลังแต่
ความตาย
๔๓ . ๑   อัตตาที่มีรูป   ยั่งยืน  มีสัญญาก็มิใช่   ไม่มีสัญญา
ก็มิใช่.
๔๔ . ๒   อัตตาที่ไม่มีรูป   ยั่งยืน   มีสัญญาก็มิใช่    ไม่มี
สัญญาก็มิใช่.
๔๕ . ๓   อัตตาทั้งที่มีรูป   ทั้งที่ไม่มีรูป  ยังยืน   มีสัญญา
ก็มิใช่  ไม่มีสัญญาก็มิใช่.
๔๖ . ๔  อัตตาทั้งที่มีรูปก็มิใช่   ทั้งที่ไม่มีรูปก็มิใช่   ยั่งยืน
มีสัญญาก็มิใช่  ไม่มีสัญญาก็มิใช่.
๔๗ . ๕   อัตตาที่มีที่สุด  ยั่งยืน มีสัญญาก็มิใช่  ไม่มีสัญญา
ก็มิใช่.
๔๘ . ๖  อัตตาที่ไม่มีที่สุด   ยั่งยืน   มีสัญญาก็มิใช่  ไม่มี
สัญญาก็มิใช่.
๔๙ . ๗  อัตตาทั้งที่มีที่สุด   ทั้งที่ไม่มีที่สุด  ยั่งยืน  มีสัญญา

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 47
ก็มิใช่  ไม่มีสัญญาก็มิใช่.
๕๐. ๘  อัตตาทั้งที่มีที่สุดก็มิใช่    ทั้งที่ไม่มีที่สุดก็มิใช่
ยั่งยืน  มีสัญญาก็มิใช่   ไม่มีสัญญาก็มิใช่.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย   สมณพราหมณ์เหล่านั้น   มีวาทะว่า  หลังแต่
ความตาย   อัตตามีสัญญาก็มิใช่   ไม่มีสัญญาก็มิใช่   ย่อมบัญญัติว่า   หลัง
แต่ความตาย   อัตตามีสัญญาก็มิใช่  ไม่มีสัญญาก็มิใช่  ด้วยวัตถุ  ๘  นี้แล.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย      สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง    มี
วาทะว่า  หลังแต่ความตาย  อัตตามีสัญญาก็มิใช่  ไม่มีสัญญาก็มิใช่  สมณะ
หรือพราหมณ์เหล่านั้นทั้งหมด   ย่อมบัญญัติด้วยวัตถุ  ๘  นี้เท่านั้น   หรือ
ด้วยอย่างใดอย่างหนึ่งใน  ๘  อย่างนี้   นอกจากนี้ไม่มี.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    เรื่องนี้ตถาคตรู้ชัดว่า   ฐานะเป็นที่ตั้งแห่ง
วาทะเหล่านี้   ที่บุคคลถือไว้อย่างนั้นแล้ว   ยึดไว้อย่างนั้นแล้ว    ย่อมมี
คติอย่างนั้น   มีภพเบื้องหน้าอย่างนั้น.     อนึ่ง    ตถาคตย่อมรู้เหตุนั้น
ชัด  และรู้ชัดยิ่งขึ้นไปกว่านั้น  ทั้งไม่ยึดมั่นความรู้ชัดนั้นด้วย.     และ
เมื่อไม่ยึดมั่น  ตถาคตก็รู้ความดับสนิทเฉพาะตน   รู้ความเกิด   ความ
ดับ  คุณ  โทษ   แห่งเวทนาทั้งหลาย   กับอุบายเป็นเครื่องออกไปจาก
เวทนาเหล่านั้น     ตามความเป็นจริง.     เพราะไม่ยึดมั่น    ตถาคตจึง
หลุดพ้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย     ธรรมเหล่านี้แล    ที่ลึกซึ้ง    เห็นได้ยาก
รู้ตามได้ยาก  สงบ  ประณีต   จะคาดคะเนเอาไม่ได้  ละเอียด  รู้เฉพาะ
บัณฑิต   ที่ตถาคตทำให้แจ้งด้วยปัญญารู้ยิ่งเอง   แล้วสอนผู้อื่นให้รู้แจ้ง
อันเป็นเหตุให้คนทั้งหลายกล่าวชมตถาคตตามความเป็นจริงโดยชอบ.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 48
อุจเฉททิฏฐิ  ๗
(๔๙)   ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย    มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่งมีวาทะว่า
ขาดสูญ    ย่อมบัญญัติความขาดสูญ    ความพินาศ    ความไม่มีของสัตว์ที่
ปรากฏอยู่   ด้วยวัตถุ  ๗.     ก็สมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น   อาศัยอะไร
ปรารภอะไร   จึงมีวาทะว่า   ขาดสูญ    บัญญัติความขาดสูญ   ความพินาศ
ความไม่มีของสัตว์ที่ปรากฏอยู่  ด้วยวัตถุ  ๗.
๕๑.๑  ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย       สมณะหรือพราหมณ์บางคนใน
โลกนี้    มีวาทะอย่างนี้    มีทิฏฐิอย่างนี้ว่า    ท่านผู้เจริญ     เพราะอัตตานี้
มีรูป   สำเร็จด้วยมหาภูตรูป ๔  มีมารดาบิดาเป็นแดงเกิด   เพราะกายแตก
ย่อมขาดสูญ   ย่อมพินาศ   ย่อมไม่มี     ฉะนั้นหลังแต่ความตาย   อัตตานี้
จึงเป็นอันขาดสูญอย่างเด็ดขาด.     สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง    ย่อมบัญญัติ
ความขาดสูญ ความพินาศ  ความไม่มีของสัตว์ที่ปรากฏอยู่ด้วยประการฉะนี้.
๕๒.๒  สมณะหรือพราหมณ์พวกหนึ่ง    กล่าวกะสมณะหรือ
พราหมณ์พวกนั้นอย่างนี้ว่า ท่านผู้เจริญ  อัตตาที่ท่านกล่าวถึงนั้น มีอยู่จริง
ข้าพเจ้ามิได้กล่าวว่าไม่มี     ท่านผู้เจริญ     แต่อัตตานี้มิได้ขาดสูญอย่างเด็ด
ขาดด้วยเหตุเพียงเท่านี้    ท่านผู้เจริญ   ยังมีอัตตาอย่างอื่นที่เป็นทิพย์   มีรูป
เป็นกามาพจร  บริโภคกวฬิงการาหาร   ซึ่งท่านยังไม่รู้ไม่เห็น    ข้าพเจ้ารู้
ข้าพเจ้าเห็นอัตตานั้น    ท่านผู้เจริญ    เพราะกายแตก    อัตตานั้นแล   ย่อม
ขาดสูญ    ย่อมพินาศ   ย่อมไม่มี    ฉะนั้นหลังแต่ความตาย   ท่านผู้เจริญ
อัตตานี้จึงเป็นอันขาดสูญอย่างเด็ดขาด         สมณพราหมณ์พวกหนึ่งย่อม
บัญญัติความขาดสูญ    ความพินาศ   ความไม่มีของสัตว์ที่ปรากฏอยู่   ด้วย

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 49
ประการฉะนี้.
๕๓. ๓  สมณะหรือพราหมณ์พวกหนึ่ง  กล่าวกะสมณะหรือ
พราหมณ์พวกนั้นอย่างนี้ว่า  ท่านผู้เจริญ   อัตตาที่ท่านกล่าวถึงนั้นมีอยู่จริง
ข้าพเจ้ามิได้กล่าวว่าไม่มี     ท่านผู้เจริญ     แต่อัตตานี้มิได้ขาดสูญอย่างเด็ด
ขาดด้วยเหตุเพียงเท่านี้   ท่านผู้เจริญ   ยิ่งมีอัตตาอย่างอื่นที่เป็นทิพย์   มีรูป
สำเร็จด้วยใจ  มีอวัยวะใหญ่น้อยครบถ้วน  มีอินทรีย์ไม่บกพร่อง   ซึ่งท่าน
ยังไม่รู้ยังไม่เห็น  ข้าพเจ้ารู้  ข้าพเจ้าเห็นอัตตานั้น  ท่านผู้เจริญ เพราะกายแตก
อัตตานั้นแลย่อมขาดสูญ  ย่อมพินาศ  ย่อมไม่มี    ฉะนั้นหลังแต่ความตาย
ท่านผู้เจริญ    อัตตานี้จึงเป็นอันขาดสูญอย่างเด็ดขาด.      สมณพราหมณ์
พวกหนึ่งย่อมบัญญัติความขาดสูญ  ความพินาศ   ความไม่มีของสัตว์ที่มีอยู่
ด้วยประการฉะนี้.
๕๔. ๔  สมณะหรือพราหมณ์พวกหนึ่ง    กล่าวกะสมณะหรือ
พราหมณ์พวกนั้นอย่างนี้ว่า  ท่านผู้เจริญ  อัตตาที่ท่านกล่าวถึงนั้น  มีอยู่จริง
ข้าพเจ้ามิได้กล่าวว่าไม่มี     ท่านผู้เจริญ      แต่อัตตานี้มิได้ขาดสูญอย่างเด็ด
ขาดด้วยเหตุเพียงเท่านี้  ท่านผู้เจริญ  ยังมีอัตตาอย่างอื่นที่เข้าถึงชั้นอากาสา-
นัญจายตนะ มีอารมณ์ว่า อากาศหาที่สุดมิได้  เพราะล่วงรูปสัญญา  เพราะ
ดับปฏิฆสัญญา   เพราะไม่ใส่ใจนานัตตสัญญาโดยประการทั้งปวง  ซึ่งท่าน
ยังไม่รู้ยังไม่เห็น  ข้าพเจ้ารู้ ข้าพเจ้าเห็นอัตตานั้นท่านผู้เจริญ  เพราะกายแตก
อัตตานั้นแล  ย่อมขาดสูญ     ย่อมพินาศ  ย่อมไม่มี  ฉะนั้นหลังแต่ความตาย
ท่านผู้เจริญ     อัตตานี้จึงเป็นอันขาดสูญอย่างเด็ดขาด.      สมณพราหมณ์
พวกหนึ่งย่อมบัญญัติความขาดสูญ  ความพินาศ   ความไม่มีของสัตว์ที่มีอยู่
ด้วยประการฉะนี้.

พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 50
๕๕.๕  สมณะหรือพราหมณ์พวกหนึ่ง      กล่าวกะสมณะหรือ
พราหมณ์พวกนั้นอย่างนี้ว่า ท่านผู้เจริญ อัตตาที่ท่านกล่าวถึงนั้น มีอยู่จริง
ข้าพเจ้ามิได้กล่าวว่าไม่มี    ท่านผู้เจริญ     แต่อัตตานี้มิได้ขาดสูญอย่างเด็ด
ขาดด้วยเหตุเพียงเท่านี้        ท่านผู้เจริญ      ยังมีอัตตาอย่างอื่นที่เข้าถึงชั้น
วิญญาณัญจายตนะ   มีอารมณ์ว่า   วิญญาณหาที่สุดมิได้  เพราะล่วงอากา-
สานัญจายตนะได้โดยประการทั้งปวง    ซึ่งท่านยังไม่รู้ยังไม่เห็น  ข้าพเจ้ารู้
ข้าพเจ้าเห็นอัตตานั้น ท่านผู้เจริญ  เพราะกายแตก  อัตตานั้นแลย่อมขาดสูญ
ย่อมพินาศ   ย่อมไม่มี   ฉะนั้นหลังแต่ความตาย  ท่านผู้เจริญ  อัตตานี้จึง
เป็นอันขาดสูญอย่างเด็ดขาด.     สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง     ย่อมบัญญัติ
ความขาดสูญ    ความพินาศ   ความไม่มีของสัตว์ที่มีอยู่   ด้วยประการฉะนี้.
๕๖.๖  สมณะหรือพราหมณ์พวกหนึ่ง      กล่าวกะสมณะหรือ
พราหมณ์พวกนั้นอย่างนี้ว่า  ท่านผู้เจริญอัตตาที่ท่าน กล่าวถึงนั้น มีอยู่จริง
ข้าพเจ้ามิได้กล่าวว่าไม่มี     ท่านผู้เจริญ    แต่อัตตานี้มิได้ขาดสูญอย่างเด็ด
ขาดด้วยเหตุเพียงเท่านี้  ท่านผู้เจริญ    ยังมีอัตตาอย่างอื่นที่เข้าถึงชั้นอากิญ-
จัญญายตนะ  มีอารมณ์ว่า ไม่มีอะไร  เพราะล่วงวิญญาณัญจายตนะได้โดย
ประการทั้งปวง  ซึ่งท่านยังไม่รู้ยังไม่เห็น  ข้าพเจ้ารู้  ข้าพเจ้าเห็นอัตตานั้น
ท่านผู้เจริญ    เพราะกายแตก    อัตตานั้นแล    ย่อมขาดสูญ    ย่อมพินาศ
ย่อมไม่มี    ฉะนั้นหลังแต่ความตาย    ท่านผู้เจริญ   อัตตานี้จึงเป็นอันขาด
สูญอย่างเด็ดขาด.     สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง     ย่อมบัญญัติความขาดสูญ
ความพินาศ  ความไม่มีของสัตว์ที่ปรากฏอยู่.  ด้วยประการฉะนี้.
๕๗. ๗ สมณะหรือพราหมณ์พวกหนึ่ง กล่าวกะสมณะหรือพราหมณ์
พวกนั้นอย่างนี้ว่า  ท่านผู้เจริญ   อัตตาที่ท่านกล่าวถึงนั้น มีอยู่จริง  ข้าพเจ้า

 
หน้าที่ 51-100

_______________
อสุภะกรรมฐาน
ตัวจริงของเราอยู่ที่ไหน
 ก้มลง มองลงไปดูข้างล้าง
>> เห็นอะไร  เห็นขี้ดินไหม 
นั่นแหละร่างกาย ที่เป็นธาตุสี่ ดินน้ำไฟลม  ที่ความเป็นเรามาอาศัยอยู่

ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกต้องเสื่อมหมด  ผมก็เสื้อม เนื้อหนังก็เสื่อม
รถก็เสื่อม บ้านก็เสื่อม
สรรพสิ่งในโลกเสื่อมหมด
_______________________
วันเกิดตัวเอง แต่แม่เกือบจะตาย ก่อน (อายุไข)
ในวันเกิดเรา  ควรชวนแม่ไปทำบุญด้วยกัน หรือทั้งครอบครัว
วันนั้นควรทำกาย วาจา ใจ ให้เป็นบุญ
ที่ว่าควรทำกายวาจาให้เป็นบุญนั้น
อย่าใช้ไอ้ร่างกายธาตุ4 ไปทำบาปในวันนั้น หรือทุกวันได้ยิ่งดี
อย่าใช้ปาก พูดให้เป็นบาป
อย่าใช้จิตใจ คิดไปในทางบาป
ก็คือความคิดนี่แหละ แม้แต่คิดก็บาปแรงแล้วน่ะ

เหมือนสมัยนั้นพระพุทธเจ้าเสด็จไป แล้วไปเจอผู้ชายคนหนึ่งที่ไม่ศรัทธาในพระพุทธเจ้า
ผู้ชายคนนั้นพอเห็นพระพุทธเจ้าก็ด่าๆๆพระพุทธเจ้า จนเหนื่อยจนหมดคำจะด่าแล้ว
พระพุทธเจ้าเลยถามว่า
ถ้ามีแขกมีญาติมาเยื่อมท่านที่บ้าน
แล้วท่านเตรียม น้ำ อาหาร ขนม หวานคราว ตอนรับ
แล้วญาติคนนั้นกลับ
อาหารพวกนั้นจะเป็นของใคร
ผู้ชายคนนั้นตอบว่า ก็ต้องเป็นของเรานะสิ
พระพุทธเจ้าเลยตอบว่า คำด่านั้นก็เหมือนกัน เราไม่รับ
แล้วผู้ชายคนนั้นก็กราบ
ขอขมาพระพุทธเจ้า

นี่แหละระวังดีๆไปด่าใครๆมันจะเข้าตัวเอง
_______________________
ฝันว่า เหมือนได้ไปปีนต้นไม้ขึ้นต้นไม้เก็บบักยางอยู่ในป่า ผลบักยางนั้น สวยมาก สีเหลืองทอง มีไม่ค่อยเหลืองทองก็มี คือมีทั้งผล สุกเหลืองทองและ ผลเหิมๆเขียวนิดๆก็มีแต่ว่า เหลืองเหมือนจะเยอะกว่า
และ ตอนนั้นเหมือนไม่ได้ใส่ชุดเป็นพระหรือใส่ก็ไม่รู้คือจำไม่ได้
แล้วพอขึ้นไปแล้วเหมือนอยู่ๆมาโผ่หลังคาบ้านตัวเอง มีโยม2คน ขึ้นไปบนหลังคาบ้านก่อน  แล้วโยมคนที่หนึ่งเปิดประตูเข้าไปในตัวบ้าน คนที่2ยังไม่เข้าไป เหมือนยืนรอเราให้เขาไปหรือไม่ได้รอเราให้เราเข้าไปก็ไม่รู้(ชั้น2) แล้วเราก็เดินค่อยๆเหยียบสังกะสีเข้าไปในปรพตูนั้น พอเข้าไปแล้วก็เห็น สถานที่ๆตัวเองเองเคยนอน มีโน๊ตบุ๊กมีอะไรต่างๆ เหมือนที่ทำงาน ในมุ้งนะ
แล้วก็ัจำไม่ได้อีกเลย
_______________________

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น